กลยุทธ์เพื่อแก้ไขปัญหาการขาดแคลนงานวิจัยในสาขามนุษยศาสตร์สถาบันอุดมศึกษาเอกชน: กรณีศึกษาคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์

ผู้แต่ง

  • พงษ์ภิญโญ แม้นโกศล คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์

คำสำคัญ:

กลยุทธ์, การบริหารกลยุทธ์, การบริหารงานวิจัย, การวิจัยสาขามนุษยศาสตร์, สถาบันอุดมศึกษา

บทคัดย่อ

ปัญหาการขาดแคลนงานวิจัยในสาขามนุษยศาสตร์ สถาบันอุดมศึกษาเอกชนสามารถแก้ไขได้ด้วยการใช้กลยุทธ์การบริหารงานวิจัย อันประกอบด้วยแนวทางสำคัญสามด้านคือ ด้านการวางแผนและการกำหนดนโยบายการวิจัย ด้านการส่งเสริมและสนับสนุนการทำวิจัยและด้านการเผยแพร่และการนำผลวิจัยไปใช้ประโยชน์ จากกรณีศึกษาของคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ พบว่า ปัจจัยแห่งความสำเร็จในการบริหารงานวิจัยคือ การวางแผนและกำหนดนโยบายชัดเจนสามารถปฏิบัติได้จริง การส่งเสริมและการสนับสนุนครอบคลุมและเป็นที่พึงพอใจ การปฏิรูประบบการบริหารงานบุคคลและการขึ้นเงินเดือนให้เชื่อมโยงกับภาระงานวิจัย การสร้างบรรยากาศ สิ่งแวดล้อมและวัฒนธรรมการวิจัย การเชื่อมโยงงานวิจัยกับการสอนและอัตลักษณ์ของคณะวิชา ตลอดจนการติดตามและประเมินผลอย่างเป็นระบบ

References

จรัส สุวรรณเวลา. (2545). อุดมศึกษาไทย. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

จรัส สุวรรณเวลา. (2551). ความเป็นอิสระของมหาวิทยาลัยไทย. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

พงษ์พัชรินทร์ พุธวัฒนะ. (2545). กลยุทธ์การพัฒนาวัฒนธรรมการวิจัยของอาจารย์สถาบันอุดมศึกษาของรัฐ (วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

พงษ์ภิญโญ แม้นโกศล. (2556). กลยุทธ์การบริหารเพื่อความเป็นเลิศในงานวิจัยของคณะมนุษยศาสตร์ สถาบันอุดมศึกษาเอกชน (วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.

พัชรินทร์ จำรูญโรจน์. (2527). ความคิดเห็นของผู้บริหารและอาจารย์เกี่ยวกับการพัฒนาคณาจารย์ในสถาบันอุดมศึกษาเอกชน (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

พัทยา สายหู. (2522). การวิจัยคืออะไร ในวารสารวิจัยสังคมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2(23), น. 4-11.

ไพฑูรย์ พงศบุตร. (2541). รายงานการสัมมนาเรื่องการพัฒนาศักยภาพในการวิจัยของอาจารย์สถาบันอุดมศึกษาเอกชน. กรุงเทพฯ: ทบวงมหาวิทยาลัยและสมาคมสถาบันอุดมศึกษาแห่งประเทศไทย.

ไพฑูรย์ สินลารัตน์. (2546). กระบวนทัศน์ใหม่ในการบริหารจัดการอุดมศึกษาไทย. กรุงเทพฯ: คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์, คณะศิลปศาสตร์. (2557). แผนยุทธศาสตร์คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ พ.ศ. 2557-2561. กรุงเทพฯ: คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.

รายงานการประเมินตนเองของคณะศิลปศาสตร์มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ปีการศึกษา 2557. (2557). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.

รายงานการประเมินตนเองของคณะศิลปศาสตร์มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ปีการศึกษา 2556. (2556). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.

รายงานการประเมินตนเองของมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ปีการศึกษา 2557. (2557). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.

วิจารณ์ พานิช. (2540). การบริหารงานวิจัยแนวคิดจากประสบการณ์. กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.

วิทยากร เชียงกูล. (2541). รายงานสภาวะการศึกษาไทย ปี 2540. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ สำนักนายกรัฐมนตรี.

ศรุดา ชัยสุวรรณ. (2550). รูปแบบการบริหารงานวิจัยในมหาวิทยาลัยเอกชน (รายงานการวิจัย). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยวงศ์ชวลิตกุล.

Isom, S. A. (2004). Relating job satisfaction to research productivity: Tenured faculty in two colleges at a Midwest Research Extensive University (Doctoral dissertation). Retrieved October 18, 2015, from http://www.ProQuest Dissertations and Theses Database. (UMI No.3117538).

Lynch, M. T. (2003). The effect of research training and research efficacy on empirical research productivity by Practicing Social Workers (Doctoral dissertation). Retrieved October 18, 2015, from http://www.ProQuest Dissertations and Theses Database. (UMI No.3104747).

Weihrich, H. (1993). Management: A global perspective. New York McGraw Hill.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2020-07-01