พฤติกรรมการออมต่ำ ความไม่คงเส้นคงวาของการวางแผนข้ามเวลาและความรู้ทางการเงิน

ผู้แต่ง

  • อนุวัฒน์ ชลไพศาล คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์

คำสำคัญ:

พฤติกรรมการออมต่ำ, ความไม่คงเส้นคงวาของการวางแผนข้ามเวลา, ความรู้ทางการเงิน

บทคัดย่อ

อัตราการออมโดยทั่วไปมีความแตกต่างกันตามรายได้ อายุ และระดับการศึกษา บทความนี้เสนอผลการศึกษาเชิงประจักษ์ต่อพฤติกรรมการออมต่ำในหมู่นักศึกษา โดยใช้ข้อมูลจากนักศึกษา มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ สมมติฐานที่ทดสอบคือ ระดับการออมของนักศึกษาจะเพิ่มสูงขึ้นหากนักศึกษา เป็นผู้ตัดสินใจที่มีความคงเส้นคงวาในการวางแผนข้ามเวลาและมีความรู้ด้านการเงินเพียงพอ ผลการศึกษาในเบื้องต้นสอดคล้องกับคำพยากรณ์ของแบบจำลองซึ่งแสดงให้เห็นว่า แนวคิดของเศรษฐศาสตร์เชิงพฤติกรรมสามารถทำความเข้าใจพฤติกรรมการออมต่ำได้

References

Crawford, R. & O’Dea, C. (2015). Have Households Under-Saved for Retirement?. Netspar Discussion Paper 10/2015-061.

Goda, G., Matthew, L., Colleen, M., Aaron, S. & Joshua, T. (2015). The Role of Time Preferences and Exponential Growth Bias in Retirement Saving. NBER Working Paper 21482.

Laibson, D. (1997). Golden Eggs and Hyperbolic Discounting. Quarterly Journal of Economics, 62 (2), 443–477.

Lusardi, A. & Olivia, M. (2014). The Economic Importance of Financial Literacy: Theory and Evidence. Journal of Economic Literature, 52(1), 5–44.

O’Donoghue, T. & Matthew, R.. (2001). Choice and Procrastination. Quarterly Journal of Economics, 116(1), 121–160.

Organisation for Economic Co-operation and Development (OECD). (2015). 2015 OECD/INFE Toolkit for Measuring Financial Literacy and Financial Inclusion. OECD Document.

Skinner, J. (2007). Are You Sure You’re Saving Enough for Retirement?. Journal of Economic Perspectives, 21(3), 59-80.

Thaler, R. & Shlomo, B. (2004). Save More Tomorrow: Using Behavioral Economics to Increase Employee Saving. Journal of Political Economy, 112(1), 164–187.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2020-07-01