ปัจจัยที่มีผลต่อการประยุกต์ใช้มาตรฐานการรายงานการเงินและลักษณะคุณภาพกำไร

ผู้แต่ง

  • รัชดาภรณ์ เสมาขันธ์ คณะการบัญชี มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์

คำสำคัญ:

การประยุกต์ใช้, มาตรฐานการรายงานการเงิน, คุณภาพกำไร

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสรุปปัจจัยที่มีผลต่อการประยุกต์ใช้มาตรฐานการรายงานการเงินและปัจจัยที่มีผลต่อลักษณะคุณภาพกำไร โดยใช้วิธีการศึกษาแบบการวิเคราะห์อภิมาน (Meta-analysis) ครอบคลุมงานวิจัยเกี่ยวกับ การประยุกต์ใช้มาตรฐานการรายงานการเงิน และคุณภาพกำไรระหว่างปีพ.ศ. 2537 ถึง พ.ศ. 2557 และส่วนใหญ่เป็นการศึกษาในประเทศไทย

รายงานการเงินถือเป็นสารสนเทศทางการบัญชีของกิจการที่ฝ่ายบริหารมีหน้าที่จัดทำ ซึ่งเกิดขึ้นจากผลการบริหารกิจการของฝ่ายบริหารเพื่อนำเสนอให้กับผู้ใช้งบการเงินภายนอก เพื่อใช้ประโยชน์ในการตัดสินใจเชิงเศรษฐกิจ โดยที่การจัดทำและนำเสนอรายงานการเงิน กิจการจำเป็นต้องมีการประยุกต์ใช้มาตรฐานการรายงานการเงิน เพื่อทำให้รายงานการเงินมีลักษณะเชิงคุณภาพ ความเกี่ยวข้องกับการตัดสินใจ ความเป็นตัวแทนอันเที่ยงธรรม ความสามารถเปรียบเทียบได้ ความสามารถพิสูจน์ยืนยันได้ ความทันเวลาและความเข้าใจได้ ซึ่งเป็นไปตามลักษณะเชิงคุณภาพ ตามกรอบแนวคิดของการรายงานทางการเงินซึ่งรวมถึงลักษณะของคุณภาพกำไร โดยมีปัจจัยที่ส่งผลต่อการประยุกต์ใช้มาตรฐานการรายงานการเงิน ปัจจัยที่พบได้แก่ 1. ข้อกำหนดของมาตรฐาน การรายงานการเงิน 2. ปัจจัยภายในกิจการ เช่น การใช้ดุลยพินิจของผู้บริหาร อัตราส่วนทางการเงิน ค่าตอบแทนของผู้บริหาร และ โครงสร้างความเป็นเจ้าของ และปัจจัยที่ส่งผลต่อคุณภาพกำไร ปัจจัยที่พบ ได้แก่ ข้อมูลทางบัญชีและข้อมูลทางตลาด การประยุกต์ใช้มาตรฐานการบัญชี ลักษณะของคณะกรรมการและกรรมการตรวจสอบและระบบเศรษฐกิจการเมืองและกฏหมาย เป็นต้น

References

เกศชนก ใจกระจ่าง. (2548). ความสัมพันธ์ระหว่างการเปลี่ยนแปลงทางการบัญชีที่เกี่ยวข้องกับค่าตอบแทนและโครงสร้างความเป็นเจ้าของของคณะกรรมการบริษัทกับผลการดำเนินงานทางการเงินของบริษัทที่ไม่ใช่สถาบันทางการเงินในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (วิทยานิพนธ์ปริญญาบัญชีมหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ทิพวรรณ แซ่ล่อ. (2548). เสถียรภาพของข้อมูลบัญชีกับความสามารถในการอธิบายผลตอบแทนหลักทรัพย์ที่เพิ่มขึ้นในช่วงก่อนและหลังวิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจของบริษัทในกลุ่มอสังหาริมทรัพย์และก่อสร้างที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. (วิทยานิพนธ์ปริญญาบัญชีมหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

นิ่มนวล เขียวรัตน์. (2539). ผลกระทบของการประกาศกำไรสุทธิทางบัญชีต่อราคาหลักทรัพย์ของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย กรณีความแตกต่างในความพร้อมของข้อมูล (วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

นิ่มนวล วิเศษสรรพ์ และ Li Yutian. (2557). ความเกี่ยวข้องในมูลค่าของกำไรต่อหุ้นและมูลค่าตามบัญชีต่อหุ้นสามัญที่มีกับราคาตลาดของหลักทรัพย์ของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์เซินเจิ้นประเทศจีน. วารสารวิชาชีพบัญชี. 10(27), 5-13.

ปัญญา สัมฤทธิ์ประดิษฐ์. (2545). การศึกษาปัจจัยที่มีผลกระทบต่อความสามารถของกำไรทางบัญชีและมูลค่าตามบัญชีในการใช้อธิบายราคาหลักทรัพย์หุ้นสามัญในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (วิทยานิพนธ์ปริญญาบัญชีมหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

พรรณนิภา ครุวรรณพัฒน์. (2548). ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างรายการคงค้างกับกำไรและผลตอบแทนของหุ้นในอนาคต (วิทยานิพนธ์ปริญญาบัญชีมหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

พรรณนิภา รอดวรรณะ. (2539). ผลกระทบต่อการตอบสนองในตลาดของมาตรการการเปลี่ยนแปลงการบัญชีเงินลงทุนในหุ้นทุนจากวิธีราคาทุนเป็นวิธีส่วนได้ส่วนเสีย : การศึกษาเชิงประจักษ์ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (วิทยานิพนธ์ปริญญาบัญชีมหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

พรสิริ ปุณเกษม และเพ็ญธิดา พงษ์ธานี. (2548). คุณลักษณะของกรรมการและกรรมการตรวจสอบที่มีผลกระทบต่อคุณภาพกำไรของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.

พระราชบัญญัติการบัญชี ปี พ.ศ.2543. (2543). สืบค้น 10 มีนาคม 2557, จาก http: www.dbd.go.th.

เมธากุล เกียรติกระจาย. (2544). ทฤษฎีการบัญชี (พิมพ์ครั้งที่ 9). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

ยศนันท์ ตระนันทสิน. (2543). การวิเคราะห์คุณภาพกำไรของบริษัทในตลาดหลักทรัพย์ กรณีศึกษาธุรกิจชิ้นส่วนอิเลคทรอนิกส์ (วิทยานิพนธ์ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย.

ยุพาพร ไชยศรีเฉลิมพล. (2548). ความสัมพันธ์ระหว่างคุณภาพกำไร รายการคงค้าง และกระแสเงินสดการวิจัยเชิงประจักษ์ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. [ม.ป.ท.] : วิทยาลัยโปลีเทคนิคภาคตะวันออกเฉียงเหนือ.

เยารักษ์ สุขวิบูลย์. (2553). การวัดเสถียรภาพกำไรจากรายการนอกงบดุลของธนาคารพาณิชย์ไทยในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. วารสารวิชาชีพบัญชี. 6(15), 29-50.

วรศักดิ์ ทุมมานนท์. (2548). การศึกษาประเด็นที่สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้งสั่งให้แก้ไขงบการเงิน หรือจัดให้มีผู้สอบบัญชีตรวจสอบเป็นกรณีพิเศษของบริษัทจดทะเบียนในช่วงปี 2546-2548. วารสารจุฬาลงกรณ์ธุรกิจปริทัศน์. 27(104), 1-40.

วรศักดิ์ ทุมมานนท์. (2550ก). ผลกระทบของการนำข้อกำหนดของ IAS 39 มาถือปฏิบัติกับการประเมินการด้อยค่าของสินเชื่อของสถาบันการเงินที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. วารสารจุฬาลงกรณ์ธุรกิจปริทัศน์. 29(114), 38-61.

วรศักดิ์ ทุมมานนท์. (2550ข). ผลกระทบของการนำนโยบายการบัญชีภาษีเงินได้รอตัดบัญชีมาถือปฏิบัติของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยปี 2538-2549. วารสารวิชาชีพบัญชี. 3, 7.

วรศักดิ์ ทุมมานนท์. (2550ค). ผลกระทบที่มีต่อบริษัทจดทะเบียนหากมีการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีเกี่ยวกับการบันทึกเงินลงทุนในบริษัทย่อย และบริษัทร่วมในงบการเงินเฉพาะกิจการจากวิธีส่วนได้เสียเป็นวิธีราคาทุน. วารสารจุฬาลงกรณ์ธุรกิจปริทัศน์. 29(112), 33-62.

วรสิทธิ์ อภิวัฒนเสวี. (2548). ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลที่มีสาระสำคัญกับอัตราผลตอบแทนผิดปกติของบริษัทขนาดใหญ่ (วิทยานิพนธ์ บัญชีมหาบัณฑติ ). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ศันสนีย์ สุริยเชิดชูสกุล. (2548). ความสัมพันธ์ระหว่างค่าความนิยมกับผลการดำเนินงานและกระแสเงินสดในอนาคตของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (วิทยานิพนธ์ปริญญาบัญชีมหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ศุภชัย ตั้งบุญธินา. (2550). ปัจจัยที่มีผลต่อความเชื่อมั่นของงบการเงินในมุมมองของนักลงทุน (วิทยานิพนธ์ปริญญาบัญชีมหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

สภาวิชาชีพบัญชีในพระบรมราชูปภัมป์. (2557). กรอบแนวคิดสำหรับการรายงานทางการเงิน. กรุงเทพฯ: สภาวิชาชีพบัญชีในพระบรมราชูปภัมป์.

สมชาย สุภัทรกุล. (2548). เป้าหมายตัวเลขกำไรและการโน้มน้าวความคาดหวัง. วารสารกระบวนทัศน์วิชาชีพบัญชีเพื่อการบริหารธุรกิจ. 1(1), 88-89.

สุภาพร แช่มช้อย. (2548). ปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกนโยบายการบัญชีที่สำคัญสำหรับธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. (วิทยานิพนธ์ปริญญาบัญชีมหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สุรี วงค์วณิช และคนอื่นๆ. (2547). ผลกระทบของมาตรฐานการรายงานการเงินไทยในการนำไปปฏิบัติ. วารสารจุฬาลงกรณ์ธุรกิจปริทัศน์. 26(100), 1-13

หนึ่งฤทัย นครพิน. (2548). ปัจจัยด้านแรงจูงใจในการบริหารในการรับรู้การด้อยค่าของสินทรัพย์ของบริษัทที่ไม่ใช่สถาบันการเงินในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (วิทยานิพนธ์ปริญญาบัญชีมหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

อมรา ติรศรีวัฒน์. (2549). ปัจจัยที่มีต่อความน่าเชื่อถือของรายงานการเงินตามทัศนะของนักวิเคราะห์การลงทุนไทย. วารสารวิชาชีพบัญชี. 2(1), 22-33.

อรพรรณ ยลระนิล. (2549). วิธีการนำเสนอข้อมูลในงบการเงินและผลกระทบต่อการตัดสินใจและดุลยพินิจของผู้ใช้งบการเงิน. วารสารวิชาชีพบัญชี. 2(1), 34-52.

อรพรรณ อรรฆย์ภูษิต. (2547). ปัจจัยที่มีผลต่อการจัดทำและการวิเคราะห์งบกระแสเงินสดของบริษัทจำกัดในเขตกรุงเทพมหานคร (วิทยานิพนธ์ปริญญาบัญชีมหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

Ball, R., Robin, A. & Wu, J.S. (2000). Incentive Versus. Standard: Properties of Accounting Income in Four East Asian. Rochester USA : NY14627.

Boonlert – U -Thai ,K., Meek, G. K. & Nabar, S. (2006). Earnings attributes and investor-protection: International evidence. International journal of Accounting. l41,4. Countries, and Implication for Acceptance of IAS. Working Paper. University of Rochester.

Dechow, P. M., Sloan, R. Q. & Sweeney, A. P. (1995). Detecting Earning Management. Journal of Accounting Review. V,N: 193-225.

Duangploy, O. & Gray, D. (2007). Big Bang Accounting reform in japan: Financial Analyst Earning forecast Accuracy Declines as the Japanese. Journal of Advances in International Accounting. 20, [19--]: 179-200.

Francis, J., LaFord, R., Olsson, P. M. & Schipper, K. (2004). Cost of Equity and Earnings Attributes. The Accounting Review. 79, 4967-1010.

Leuz, C., Nanda, D. & Wysocki, P. D. (2003). Earning management and investor protection: an international comparison. Journal of Financial Economics 69(3),505-527.

Peetathawatchai, P. & Acaranupong, K. (2004). A Study of practical Applications of Accounting Standard on Impairment of Assets in Thai Listed Companies Paper presented at the 5th Annual Conference on Asain Academic Accounting Association, Anoma Hotel, Bangkok Thailand.

Schipper, K. & Vincent, L. (2003). Earning Quality. Retrieved January 15,2014 From: Accounting Horizons; 2003;17, ABI/INFORM Global, 2003: 97 -110

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2020-07-02