การรับรู้และศักยภาพความพร้อมต่อการเปิดเสรีบริการด้านการท่องเที่ยวตามกรอบ ASEAN Economic Community (AEC) ชายหาดบางแสน จังหวัดชลบุรี
คำสำคัญ:
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน, การรับรู้, ศักยภาพ, ชายหาดบางแสนบทคัดย่อ
การวิจัยเรื่อง การรับรู้และศักยภาพความพร้อมต่อการเปิดเสรีบริการด้านการท่องเที่ยวตามกรอบ AEC ชายหาดบางแสน จังหวัดชลบุรี มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อศึกษาการรับรู้การเปิดเสรีบริการด้านการท่องเที่ยวตามกรอบ AEC ของผู้ประกอบการการท่องเที่ยวชายหาดบางแสน จังหวัดชลบุรี (2) เพื่อศึกษาระดับศักยภาพของชายหาดบางแสนต่อการเปิดเสรีบริการด้านการท่องเที่ยวตามกรอบ AEC ของผู้ประกอบการการท่องเที่ยวชายหาดบางแสน จังหวัดชลบุรี (3) เพื่อศึกษาการรับรู้ผลกระทบต่อการเปิดเสรีบริการด้านการท่องเที่ยวตามกรอบ AEC ของผู้ประกอบการการท่องเที่ยวชายหาดบางแสน จังหวัดชลบุรี จำนวน 378 คน โดยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง (Purposive Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูล คือ แบบสอบถาม การวิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าความถี่ (Frequency) ร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation)
ผลการวิจัย พบว่า กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษาส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุ 46 ปีขึ้นไป มีระดับการศึกษาต่ำกว่าปริญญาตรี ส่วนใหญ่เป็นผู้ประกอบการล้อเลื่อนและมีรายได้ต่อเดือนระหว่าง 30,001-50,000 บาท ด้านการรับรู้การเปิดเสรีบริการด้านการท่องเที่ยวตามกรอบ AEC ผู้ประกอบการชายหาดบางแสน จังหวัดชลบุรี รับรู้จากสื่อมวลชนเป็นอันดับแรกโดยรับรู้จากสื่อหนังสือพิมพ์มากที่สุด ( = 4.05) ด้านผลกระทบต่อการท่องเที่ยวชายหาดบางแสนจากการเปิดประชาคมอาเซียน ผู้ประกอบการเห็นว่า ภาษาต่างประเทศเป็นอุปสรรคมากที่สุด ( = 3.49) ด้านระดับศักยภาพของผู้ประกอบการบริเวณชายหาดบางแสน ผู้ประกอบการเห็นว่าเงินลงทุนที่แข็งแกร่งจากต่างชาติที่เข้ามาลงทุนได้ อย่างเสรีมากขึ้นมีผลมากที่สุด ( = 2.81)
References
กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. (2554). แผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ พ.ศ. 2555-2559. กรุงเทพฯ: กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา.
เกศินี จุฑาวิจิตร. (2550). การสื่อสารเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น. นครปฐม: เพชรเกษมการพิมพ์.
ขวัญเรือน กิติวัฒน์. (2551). พฤติกรรมการสื่อสาร. นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
จินตนา บุญบงการ และ ณัฏฐพันธ์ เขจรนันทน์. (2549). การจัดการเชิงกลยุทธ์. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น.
จิราภา เต็งไตรรัตน์. (2549). จิตวิทยาทั่วไป. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ดวงฤทัย พงศ์ไพฑูรย์. (2549). การเปิดรับข่าวสาร ความรู้ และทัศนคติเกี่ยวกับเพศศึกษาของวัยรุ่นในเขตกรุงเทพมหานคร. (พิมพ์ครั้งที่2). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
เทศบาลเมืองแสนสุข. (2554). ข้อมูลผู้ประกอบการ. ชลบุรี: เทศบาลเมืองแสนสุข.
ธานินทร์ ศิลป์จารุ. (2553). การวิจัยและวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติด้วยSPSS (พิมพ์ครั้งที่11). กรุงเทพฯ: บิสซิเนสอาร์แอนด์ดี.
บุญเลิศ จิตตั้งวัฒนา. (2548). การพัฒนาการท่องเที่ยวแบบยั่งยืน. กรุงเทพฯ. สำนักพิมพ์บริษัท เพรส แอนด์ ดีไซน์ จำกัด.
ปรมะ สตะเวทิน. (2551). การสื่อสารมวลชนกระบวนการและทฤษฎี. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: ภาพพิมพ์.
พวงรัตน์ เกษรแพทย์. (2543). การวางแผนกลยุทธ์ของนักศึกษา. กรุงเทพฯ: ลุชียาลาล์น.
พัชนี เชยจรรยา, เมตตา วิวัฒนานุกูล และ ถิรนันท์ อนวัชศิริวงศ์. (2551). แนวคิดหลักนิเทศศาสตร์. (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ข้าวฟ่าง จำกัด.
พิบูล ทีปะปาล. (2551). การจัดการเชิงกลยุทธ์. กรุงเทพฯ: อมรการพิมพ์.
ยุพดี ฐิติกุลเจริญ. (2547). ทฤษฎีการสื่อสาร. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
วิทวัส รุ่งเรืองผล. (2551). กลยุทธ์ทางการตลาดจากการใช้ฐานข้อมูลลูกค้า. สืบค้น 11 มีนาคม 2557, จาก http://www.Marketeer.Co.Th/Inside_Detail.Php?Inside_Id=619.
ศุภร เสรีรัตน์. (2550). พฤติกรรมผู้บริโภค. กรุงเทพฯ: บริษัท ภาริณาส จำกัด.
ศูนย์ข้อมูลความรู้ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน. (2555). ประวัติความเป็นมาประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC). สืบค้น 11 มีนาคม 2557, จาก http://www.Thai-Aec.Com/Asean-Economic-Community.
สุชา จันทร์เอม. (2550). จิตวิทยาทั่วไป. (พิมพ์ครั้งที่ 11). กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช.
สุพานี สฤษฎ์วานิช. (2552). พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่ : แนวคิดและทฤษฎี. ปทุมธานี: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
สุรพงษ์ โสธนะเสถียร. (2553). การสื่อสารกับสังคม. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
เสถียร เชยประทับ. (2548). การสื่อสารและการพัฒนา. กรุงเทพฯ: ห้างหุ้นส่วนจำกัด อรุณการพิมพ์.
สำนักนโยบายและแผน,สำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย. (2551). ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 2015 กับกระทรวงมหาดไทย สืบค้น 23 ตุลาคม 2555, จาก http://www.ppb.moi.go.th/midev01/upload/asean_final.pdf.
องค์ความรู้ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน. (2553). ประวัติความเป็นมาประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน(AEC) สืบค้น 15 กันยายน 2555, จาก http://www.thai-aec.com.
Atkin, C. K. (1973). Public Communication Campaigns. London: Sage Publication.
Klapper, J. T. (1960). The Effects of Mass Communication. New York: The Free Press.
Leslie, R. W. & Byars, L. L. (2000). Management : Skill and Application. (9th ed.). New York: Mcgraw-Hill Inc.
Mason, R. D., Lind, D. A. & Marchal, W. G. (1999). Statistical Techniques in Business and Economics: International Edition. (10th ed.). Boston: McGraw-Hill.
Pearce, J. A., & Robinson, R. B. (2000). Strategic Management: Formulation, Implementation and Control. (10th ed.). New York: Mcgraw-Hall.
Peters, T. J., & Waterman, R. H. Jr. (1987). In Search of Excellent. New York: Harper and Law.
Pitts, R. A., & Lei, D. (2000). Strategic Management Building and Sustaining Competitive Advantage. Dallas, Tx: Southern Methodist University.
Robbins, S. P., & Coulter, M. (2007). Management. (6th ed.). New Jersey: Prentice Hall. International.
Rogers, E. M. & Shoemaker F. F. (1971). Communication of Innovation: A Cross-Cultural Approach. (2nd ed.). New York: Free Press.
Schermerhorn, Jr. (2002). Management. (7th ed.). New York: John Wisley.
Schiffman, L.G. & Kanuk, L. L. (1999). Consumer Behavior. (4th ed.). New Jersey: Englewood Cliffs.
Taylor, K. (1996). Principles of Marketing. New Jersey: Englewood Cliffs.
Wilbur, S. (1973). The Process and Effects Of Mass Communication. New Jersey: Englewood Cliffs.
World Tourism Organization. (2011). Integrating Tourism into Planning. Journal of Sustainable Tourism, 411-421.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารสุทธิปริทัศน์ ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสาร ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใดๆ
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารสุทธิปริทัศน์ ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารสุทธิปริทัศน์หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใด ๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากวารสารสุทธิปริทัศน์ก่อนเท่านั้น