ผลของความรู้ ทักษะ คุณค่า จรรยาบรรณ และทัศนคติในวิชาชีพที่มีต่อสมรรถนะของผู้สอบบัญชีภาษีอากร
คำสำคัญ:
ผู้สอบบัญชีภาษีอากร, สมรรถนะบทคัดย่อ
จากการที่มาตรฐานการศึกษาสากล (International Educational Standard: IES) ได้ระบุแนวทางในการพัฒนามาตรฐานการศึกษาด้านบัญชี ที่ครอบคลุมความรู้ ทักษะ ค่านิยม จรรยาบรรณและทัศนคติในวิชาชีพของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี เพื่อส่งเสริมให้ผู้ประกอบวิชาชีพบัญชีมีความสามารถที่จะปฏิบัติงานได้อย่างเต็มความสามารถ ผู้วิจัยจึงต้องการศึกษาว่าความรู้ ทักษะ ค่านิยม จรรยาบรรณและทัศนคติในวิชาชีพ จะมีผลต่อสมรรถนะในการปฏิบัติงานของผู้สอบบัญชีภาษีอากรหรือไม่และอย่างไร ผู้วิจัยใช้แบบสอบถามในการเก็บรวบรวมข้อมูลความคิดเห็นของผู้สอบบัญชีภาษีอากรตามประกาศของกรม สรรพากรที่อยู่ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล
ผลจากการวิจัยแสดงข้อมูลผู้สอบบัญชีภาษีอากรส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุระหว่าง 30 ปี-39 ปีมีประสบการณ์การเป็นผู้สอบบัญชีภาษีอากร ระหว่าง 1 ปี – 5 ปี และจบการศึกษาในระดับปริญญาตรี นอกจากนี้ยังพบว่า ความรู้ ทักษะ ค่านิยม จรรยาบรรณ และทัศนคติในวิชาชีพที่ดี จะเพิ่มสมรรถนะในการประกอบวิชาชีพของผู้สอบบัญชีภาษีอากร อีกทั้งผู้สอบบัญชีภาษีอากรที่มีเพศ อายุ และ ประสบการณ์แตกต่างกัน จะมีสมรรถนะในการประกอบวิชาชีพที่แตกต่างกัน
References
กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ. (2546). บันทึกสำนักคณะกรรมการกฤษฎีกาประกอบร่างพระราชบัญญัติวิชาชีพ (ฉบับร่าง). กรุงเทพฯ.
กรมวิชาการ. (2542). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542. กรุงเทพฯ: กรมวิชาการ.
กรมสรรพากร. (2555). รายชื่อผู้ตรวจสอบและรับรองบัญชี. สืบค้นเมื่อ 2 กรกฎาคม 2555, จาก http://www/rd/gp/tj/publish/7250.0 html.
กัลยา วานิชย์บัญชา. (2546). การใช้ SPSS for windows ในการวิเคราะห์ข้อมูล (พิมพ์ครั้งที่ 6). กรุงเทพฯ: ภาควิชาสถิติ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
กัลยา วานิชย์บัญชา. (2552). การวิเคราะห์ข้อมูลหลายตัวแปรด้วย SPSS for windows (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ: คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
กุสุมา คำพิทักษ์ และคณะ. (2552). การพัฒนามาตรฐานอาชีพนักบัญชีที่ตอบสนองต่อภาคธุรกิจอุตสาหกรรม (รายงานผลการวิจัย). ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.
โกวิท ประวาลพฤกษ์. (2534). การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์สำหรับอนาคต.กรุงเทพฯ: กรมวิชาการกระทรวงศึกษาธิการ.
ขจรศักดิ์ ศิริมัย และคณะ. (2554). การพัฒนาระบบสมรรถนะเพื่อพัฒนาทรัพยากรบุคคล. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร.
ชาลินี เอื้อวิเศษวัฒนา. (2553). ปัจจัยการลงทุนและพฤติกรรมการลงทุนที่ส่งผลต่อรูปแบบการออมประเภทเงินฝากประจำและการลงทุนในกองทุนรวมของผู้ลงทุนรายย่อย (รายงานผลการวิจัย). ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา.
ชูศักดิ์ จรูญสวัสดิ์. (2551). การวิเคราะห์ข้อมูลและการใช้สถิติในงานวิจัย (พิมพ์ครั้งที่ 1) .กรุงเทพฯ: ส.เสริมมิตรการพิมพ์.
ธวัช ภูษิตโภยไคย. (2548). ประสบการณ์วิชาชีพการบัญชีด้านการสอบบัญชี. นนทบุรี: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
ปภาวี สุขมณี และคณะ. (2553). ผลกระทบของความเป็นมืออาชีพที่มีต่อคุณภาพงานสอบบัญชีของผู้สอบบัญชีในกรมตรวจบัญชีสหกรณ์ (รายงานผลการวิจัย).กาฬสินธุ์: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอิสาน วิทยาเขตกาฬสินธุ์.
ประจิต หาวัตร. (2544). สรุปการบรรยายของ Mr.Robert Taylor [จุลสาร]. กรุงเทพฯ: สมาคมนักบัญชีและผู้สอบบัญชีรับอนุญาตแห่งประเทศไทย
พจนานุกรมฉบับเฉลิมพระเกียรติ พ.ศ.2530. (2530). กรุงเทพฯ: วัฒนาพาณิชย์.
เพ็ญธิดา พงษ์ธานี. (2551). ปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อคุณภาพการบริการของสำนักงานบัญชีในประเทศไทย วารสารสุทธิปริทัศน์, 22(67) , 17-36.
ราชบัณฑิตยสถาน. (2526). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2525. กรุงเทพฯ: อักษรเจริญทัศน์.
ราชบัณฑิตยสถาน. (2538). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2538. กรุงเทพฯ: อักษรเจริญทัศน์.
วลัยลักษณ์ สุวรรณวลัยกร และ มนวิกา ผดุงสิทธิ์. (2556). ความคาดหวังและความพร้อมของวิชาชีพสอบบัญชีไทยในการแข่งขันในประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน วารสารวิชาชีพบัญชี, 9(25), 35-49.
วิจิตร อาวะกุล. (2540). เทคนิคมนุษยสัมพันธ์ (พิมพ์ครั้งที่ 7). กรุงเทพฯ: โอ.เอส. พริ้นดิ้ง เฮ้าส์.
ศิลปพร ศรีจั่นเพชร. (2545). นักวิชาชีพบัญชีกับ IEG9. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์ธุรกิจปริทัศน์, 24(92), 12-19
สภาวิชาชีพบัญชีในพระบรมราชูปถัมภ์. (2552). มาตรฐานการศึกษาระหว่างประเทศ ฉบับที่2 เรื่องเนื้อหาของโปรแกรมการศึกษาสำหรับวิชาชีพบัญชี.กรุงเทพฯ.
สภาวิชาชีพบัญชีในพระบรมราชูปถัมภ์. (2552). มาตรฐานการศึกษาระหว่างประเทศ ฉบับที่3 เรื่องทักษะทางวิชาชีพ.กรุงเทพฯ.
สภาวิชาชีพบัญชีในพระบรมราชูปถัมภ์. (2552). มาตรฐานการศึกษาระหว่างประเทศฉบับที่ 4 เรื่องคุณค่าจรรยาบรรณ และทัศนคติในวิชาชีพ.กรุงเทพฯ.
สภาวิชาชีพบัญชีในพระบรมราชูปถัมภ์. (2555). มาตรฐานการศึกษาระหว่างประเทศสำหรับผู้ประกอบวิชาชีพสอบบัญชีฉบับที่8 เรื่องข้อกำหนดด้านสมรรถนะสำหรับผู้ประกอบวิชาชีพสอบบัญชี.กรุงเทพฯ.
สมยศ นาวีการ. (2543). การบริหารและพฤติกรรมองค์การ (พิมพ์ครั้งที่ 2) . กรุงเทพฯ: บรรณกิจ.
สมาคมนักบัญชีแห่งประเทศไทย. (2544). รายงานการประชุมสหพันธ์นักบัญชีอาเซียนครั้งที่ 12 และการประชุมนักบัญชีทั่วประเทศครั้งที่17. กรุงเทพฯ.
สมาคมนักบัญชีแห่งประเทศไทย. (2546). รายงานการประชุมสหพันธ์นักบัญชีอาเซียนครั้งที่ 13 และการประชุมนักบัญชี ทั่วประเทศครั้งที่18. กรุงเทพฯ.
สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน. (2548). การปรับใช้สมรรถนะในการบริหารทรัพยากรมนุษย์. เอกสารประกอบการสัมมนา เรื่อง สมรรถนะของข้าราชการ. กรุงเทพฯ.
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา. (2552). กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2552. กรุงเทพฯ.
สำนักงานมาตรฐานอุดมศึกษา. (2541). บัณฑิตไทยในอุดมคติ(พิมพ์ครั้งที่ 1). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สำนักงานมาตรฐานอุดมศึกษา. (2546). การพัฒนาบัณฑิตอุดมคติไทย.กรุงเทพฯ: ห้างหุ้นส่วนจำกัดภาพพิมพ์.
สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรมระหว่างประเทศ. (2554). ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนมีความสำคัญอย่างไร. กรุงเทพฯ.
สุกัญญา รัศมีธรรมโชติ. (2548). แนวทางการพัฒนาศักยภาพของมนุษย์ด้วย Competence.กรุงเทพฯ: ศิริวัฒนา อินเตอร์พริ้นท์.
สุเทพ พงษ์พิทักษ์. (2551,24 พฤศจิกายน). การตรวจสอบและรับรองบัญชี. กรุงเทพฯ: เดลินิวส์.
สุพรรณา บุญมาวงศ์. (2551). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการใช้บริการตรวจสอบบัญชีในเขตกรุงเทพมหานคร (รายงาน ผลการวิจัย). ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.
สุภาพร พิศาลบุตร. (2544). จริยธรรมทางธุรกิจ. กรุงเทพฯ: วี.เจ. พริ้นติ้ง.
อมร รักษาสัตย์. (2544). การเมืองการปกครองไทยตามรัฐธรรมนูญฉบับประชาชน (พิมพ์ครั้งที่ 2).กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์วิทยาลัย.
อรพรรณ พรสีมา. (2543). การคิด. กรุงเทพฯ: สถาบันพัฒนาทักษะการคิด.
อรุณ รักธรรม. (2529). พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การ (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
อารีย์ พันธ์มณี. (2543). คิดอย่างสร้างสรรค์ (พิมพ์ครั้งที่ 6). กรุงเทพฯ: เลิฟแอนด์ลิพเพลส จำกัด.
Boyatzis, R.E. (1992). Competence at work. In a Stewart (Ed.), Motivation and society. SanFrancisso:Jossey-Bass, 1982. Mc Clelland, D.C.(1975), A Competency model or human resource management specialists to be used in thedelivery of the human resource management cycle.BostonMcber.
Burns, R. (1990). Introduction to Research Methods.Melbourne. Longman Chesire.
Gliem, J. A., &Gliem, R. R. (2003). Calculating, interpreting, and reporting Cronbach’s alpha reliabilitycoefficientforLikert-type scales. Midwest Research to Practice Conference in Adult, Continuing,and Community Education,retrieved October 6,2010, from http://hdl.handle. net/1805/344 .
Greenberg, J and R.A.Baron. (1989). Behavior in Oganizations 4 (th/ ed). Boston :Allyn and Bacon, Inc.
Internationl Federation of Accountants (2003). International Education Standards for Professional Accountants. New York : International Federation of Accountants.
McClelland, David C. (1973) .Testing for Competence rather than Intelligence. American Psychologist. Retrieved December 11, 2005, from www.ei.Haygroup.com.
Melvin Richardson. (2012). Skills and Qualifications Needed to Be an Accountant. Retrieved March 10, 2014 from http://voices.yahoo.com/skillsqualifications-needed accountant2987159.html.
Pallant, J. (2001). SPSS Survival Manual: A Stepby-step Guide to Data Analysis. Buckingham: Open University Press.
Supaluk Perchow. (2554). ปรัชญาว่าด้วยการศึกษาเกี่ยวกับมนุษย์.Retrieved March 24, 2014 from http://Supaluk-erchow.blogspost.com/2011/10/blog-plst.html. Wiersma, W. (1991). Research Methods in Education. (5th /ed). Sydney:Allyn and Bacon.
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารสุทธิปริทัศน์ ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสาร ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใดๆ
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารสุทธิปริทัศน์ ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารสุทธิปริทัศน์หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใด ๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากวารสารสุทธิปริทัศน์ก่อนเท่านั้น