การศึกษาผลสัมฤทธิ์การเขียนภาษาอังกฤษโดยใช้รูปแบบการสอนซิปปาของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนวัดพรหมเพชร
คำสำคัญ:
ผลสัมฤทธิ์การเขียนภาษาอังกฤษ, รูปแบบการสอนซิปปาบทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์การเขียนภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนวัดพรหมเพชร โดยใช้รูปแบบการสอนซิปปา (CIPPA Model) ประชากรที่ใช้ ในการวิจัย ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 จำนวน 25 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูล ได้แก่ 1) แผนการจัดการเรียนรู้ 2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์การเขียนภาษาอังกฤษและสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานและการทดสอบค่าที
ผลการวิจัยพบว่า ผลสัมฤทธิ์การเขียนภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนวัดพรหมเพชร โดยใช้รูปแบบการสอนซิปปา (CIPPA Model) หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติที่ระดับ .05
References
ดารินทร์ ตนะทิพย์. (2545). ผลของการสอนโดยใช้รูปแบบการเรียนการสอนซิปปาที่เน้นกระบวนการเรียนรู้ทางภาษาที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและเจตคติต่อการเรียนภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ถาวร วัฒนกลุ . (2548). ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความพึงพอใจในการเรียนรู้โดยใช้รูปแบบประสานห้าแนวคิด(CIPPA MODEL) กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพละศึกษาของผู้เรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร.
ทวีวรรณ มูลมณี. (2552). ผลของการใช้เทคนิคการเรียนรู้แบบร่วมมือที่มีต่อความสามารถในการเขียนภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนคลองกุ่ม เขตคลองกุ่ม กรุงเทพฯ (สารนิพนธ์). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
ทิศนา แขมมณี. (2548). รูปแบบการเรียนการสอน: ทางเลือกที่หลากหลาย. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ทิศนา แขมมณี. (2551). ศาสตร์การสอน. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
นภาวรรณ ประดับคำ. (2548). ผลการใช้โมเดลซิปปาในกิจกรรมการเรียนรู้วิชาฟิสิกส์สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
บุญสิทธิ์ วานุนาม. (2547). การพัฒนาแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมการเรียนรู้แบบซิปปา (CIPPA) เรื่อง ลิมิตและความต่อเนื่องของฟังก์ชั่น วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 (การศึกษาค้นคว้าอิสระ). ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
เลิศลักษณ์ ศรีแสง. (2551). การพัฒนาทักษะการเขียนภาษาอังกฤษนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โดยใช้แบบฝึกทักษะการเขียนภาษาอังกฤษ. สืบค้น 17 กันยายน 2554, จาก http://www.kroobannok.com/board_view. php?b_id =1532&bcat_id=16
ศศิพิมพ์ ศรกิจ. (2551). การพัฒนาทักษะการเขียนภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกทักษะจากการเขียนแบบควบคุมไปสู่การเขียนแบบอิสระ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
สุดศิริ ศิริคุณ. (2543). การใช้กลวิธีการเรียนแบบร่วมมือด้วยโปรแกรม CIRC เพื่อพัฒนาความสามารถทางการเขียนภาษาอังกฤษของนักเรียน (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
สุมิตรา อังวัฒนกูล. (2551). การสอนภาษาอังกฤษ. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
อารีวรรณ เอี่ยมสะอาด. (2552). การพัฒนาและการนำหลักสูตรภาษาอังกฤษไปใช้ในสถานศึกษาสำหรับครูทุกระดับกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) ในหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน. กรุงเทพฯ: คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา.
Jacobs, H. L., et al. (1981). Testing ESL composition: A practical approach. MS : Newbury House.
Mary Spratt, Alan Pulverness, & Melanie Williams. (2006). The TKT teaching knowledge test course. UK: Cambridge University Press.
Valette M. Rebecca. (1972). Modern language testing: A handbook. New York: Harcourt Brace & World.
Valette, & Disick. (1972). Modern language performance objectives and Individualization. New York: Harcourt Brace Jovanovich.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารสุทธิปริทัศน์ ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสาร ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใดๆ
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารสุทธิปริทัศน์ ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารสุทธิปริทัศน์หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใด ๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากวารสารสุทธิปริทัศน์ก่อนเท่านั้น