ผลของการสอนกลุ่มเล็กแบบดั้งเดิมและแบบสอนงานที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและเจตคติต่อการเรียนวิชาการใช้ภาษาไทย
คำสำคัญ:
การสอนแบบดั้งเดิม, การสอนแบบสอนงาน, ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน, เจตคติบทคัดย่อ
การวิจัยนี้เป็นการศึกษาและเปรียบเทียบผลของการสอนกล่มุเล็กแบบดั้งเดิมและแบบสอนงาน ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและเจตคติต่อการเรียนวิชาการใช้ภาษาไทย ผู้วิจัยทำการทดลองกับนักศึกษาที่เรียนวิชาการใช้ภาษาไทย มหาวิทยาลัยกรุงเทพ จำนวน 246 คน โดยใช้วิธีการสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการใช้ภาษาไทย แบบสอบถาม เจตคติที่มีต่อการเรียนวิชาการใช้ภาษาไทย สถิติที่ใช้ในการวิจัย คือ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐานการวิเคราะห์ความแปรปรวนและความแปรปรวนร่วม ผลการวิจัยพบว่า เมื่อมีการควบคุมอิทธิพลของคะแนนเฉลี่ยสะสม ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการใช้ภาษาไทยของสองกลุ่มแตกต่างกันอย่าง มีนัยสำคัญที่ระดับ .01 โดยกลุ่มที่ใช้วิธีการสอนแบบสอนงานมีคะแนนเฉลี่ยของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน สูงกว่ากลุ่มที่ใช้วิธีการสอนแบบดั้งเดิม และเมื่อเปรียบเทียบเจตคติต่อความรู้และทักษะการใช้ภาษาไทย และเจตคติต่อการเรียนวิชาการใช้ภาษาไทย พบว่า นักศึกษากลุ่มที่ใช้วิธีการสอนแบบสอนงานกับกลุ่มที่ใช้วิธีการสอนแบบดั้งเดิมมีเจตคติต่อการเรียนวิชาการใช้ภาษาไทยไม่แตกต่างกัน
References
เกรียงไกร คล้ายกล่ำ. (2551). อิทธิพลของการสอนงานและการเอื้ออำนวยที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาสถิติประยุกต์ทางพฤติกรรมศาสตร์ 1. สืบค้น 25 พฤศจิกายน 2556, จาก http:// thesis.grad.chula.ac.th/readfile1.php?fn=ab5083311227.doc
ดูโพสต์ที่แบ่งปันญาดา หอมเกสร. (2552). การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาไทยและเจตคติต่อวิชาภาษาไทยของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ระหว่างกลุ่มที่เรียนรู้โดยรูปแบบ CIRC กับกลุ่มการเรียนรู้ตามคู่มือครู. สืบค้น 25 พฤศจิกายน 2556, จาก http://library.aru.ac.th/cgi-bin/gw/chameleon?sessionid
นวพร กาญจนศรี. (2551). การพัฒนาและตรวจสอบความตรงของโมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของสมรรถภาพบัณฑิตของนิสิตบัณฑิตศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สืบค้น 25 พฤศจิกายน 2556. จาก http://thesis.grad.chula.ac.th/current.php?mode=show&id=5083348527
บุญชอบ สุขสมพืช. (2551). การเปรียบเทียบความสามารถ การเขียนเชิงสร้างสรรค์และเจตคติต่อวิชาภาษาไทยของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ระหว่างกล่มุ ที่ได้รับการจัด การเรียนร้แบบโมเดลซิปปากับการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิคระดมสมองสู่ผังความคิด. สืบค้น 25 พฤศจิกายน 2556 จาก http://library.aru.ac.th/cgi-bin/gw/chameleon?sessionid.
ประทินทิพย์ พรไชยยา. (2553). การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน การคิดวิเคราะห์และเจตคติต่อการเรียนภาษาไทย ชุดภาษาเพื่อชีวิต (ภาษาพาที) ของนักเรียนชั้นประถมปีที่ 5 ระหว่างการจัดการเรียนรู้ตามแนวทฤษฎีพหุปัญญากับการเรียนรู้แบบซิปปา. สืบค้น 25 พฤศจิกายน 2556, จาก http://journal.drchalard.com/journal/2/2_2/aded_2_2.124-143.pdf
ปัทมน รักสนอง. (2547). การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์และเจตคติต่อวิชาภาษาไทยของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นโดยใช้เทคนิคการจัดเนื้อหาสาระด้วยแผนภาพกับการสอนตามคู่มือครู. สืบค้น 25 พฤศจิกายน 2556, จาก http://dric.nrct.go.th/bookdetail.php?book_id=152711
พัชรา ทิพยทัศน์. (2554). เจตคติ. สืบค้น 25 พฤศจิกายน 2556, จาก http://www.wattoongpel.com/sarawichakarn/wichakarn/1-10/เจตคติ4.pdf.
พิรุณโปรย สำโรงทอง. (2554). การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและเจตคติต่อการเรียนภาษาไทยของ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์กับการจัดการ เรียนรู้ตามคู่มือครู. ปริญญานิพนธ์ กศ.ม.(การมัธยมศึกษา), บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
ราณี ศรีโมรา. (2549). การเปรียบเทียบความสามารถในการอ่านเพื่อความเข้าใจและเจตคติต่อการเรียนภาษาไทย โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือวิธีเอสทีเอดีและการจัดการเรียนรู้แบบปกติ. สืบค้น 25 พฤศจิกายน 2556, จาก http://202.28.199.3/tdc/browse.php?option=show&browse_type=title&titleid=12449&display
ลักขณา สริวัฒน์. (2544). จิตวิทยาในชีวิตประจำวัน. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์.
ว่าที่ร้อยตรีหญิงศิริพร ประนมพนธ์. (2552). การเพิ่มผลลัพธ์การเรียนรู้ของนิสิตปริญญาบัณฑิต โดยใช้โปรแกรมการสอนงาน. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิธีวิทยาการวิจัยการศึกษา, ภาควิชาวิจัยและจิตวิทยาการศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สุทธิพร จิตต์มิตรภาพ. (2553). การเปลี่ยนแปลงโลกของการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และการพัฒนาสู่ครูมืออาชีพ. สืบค้น 25 พฤศจิกายน 2556, จาก http://www.slideshare.net/taxiboat/21-23556792
ศักดิ์ไทย สุรกิจบวร. (2545). จิตวิทยาสังคม ทฤษีและปฏิบัติการ. กรุงเทพฯ: ชมรมเด็ก.
ศิริชัย กาญจนวาสี. (2544). ทฤษฎีการทดสอบแบบดั้งเดิม. (พิมพ์ครั้งที่ 4) กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
อรุณี ลายเขียน. (2550). การเปรียบเทียบความเข้าใจในการอ่านและเจตคติ ต่อวิชาภาษาไทยของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ระหว่างกลุ่มที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบ 4 MAT กับการเรียนรู้แบบปกติ. สืบค้น 25 พฤศจิกายน 2556, จาก http://dric.nrct.go.th/bookdetail.php?book_id=205773.
Anastasi, P. Anne. (1982). Psychological Testing (6th ed). New York: Mac Millan.
Chalies, S., Berton, S., Flavier, E. and Durand, M. (2007). Effects of collaborative Mentoring on the articulation of training and classroom situations: A case study in the French school system. Teaching and Teacher Education. Retrieved May 18, 2013, from http://www.science direct.com
Fox, A. and Stevenson, L. (2006). Teaching note: Exploring the effectiveness of peer mentoring of accounting and finance students in higher education. Accounting Education: and international journal. 15(2). Retrieved May 18, 2013, from http://sc.edu/fye/events/presentation/.../2012/.../CI-78.docx
Good, Carter V. (1973). Dictionary of Education (3rd ed). New York: McGraw-Hill Book Co., Inc.
Hughes, S. J. (2004). The mentoring role of the personal tutor in the “ Fitness for practice”
curriculum: an all Wales approach. Nurse Education in Practice, 4, pp. 271-278.
Wells, J. H.; Craig, J. and Gosland, J. (2006). Encounters in social cyberspace: e- Mentoring for professional women. Woman in management review, 21(6), pp. 483-499. Retrieved May 18, 2013, from http://www.ingentaconnect.com/content/mcb/053/2006/0000006/art00003
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารสุทธิปริทัศน์ ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสาร ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใดๆ
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารสุทธิปริทัศน์ ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารสุทธิปริทัศน์หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใด ๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากวารสารสุทธิปริทัศน์ก่อนเท่านั้น