ความคิดเห็นและพฤติกรรมการใช้หมวกนิรภัยของนักศึกษาพยาบาล มหาวิทยาลัยนครพนม
คำสำคัญ:
พฤติกรรม, ความคิดเห็น, หมวกนิรภัย, นักศึกษาพยาบาล, นครพนมบทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความคิดเห็นต่อการใช้หมวกนิรภัยและพฤติกรรม การใช้หมวกนิรภัยของนักศึกษาพยาบาล มหาวิทยาลัยนครพนม กลุ่มตัวอย่างเป็นนักศึกษาพยาบาล ชั้นปีที่ 1-3 ปีการศึกษา 2552 จำนวน 207 คน ซึ่งได้มาโดยการสุ่มแบบแบ่งชั้น เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถาม ได้ตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาและหาค่าความเชื่อมั่นของแบบสอบถามโดยใช้สูตรสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาคได้ค่าความเชื่อมั่นของแบบสอบถามเท่ากับ 0.88 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยและค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ผลการวิจัย พบว่า ค่าเฉลี่ยของความคิดเห็นต่อการใช้หมวกนิรภัย การรับรู้ประโยชน์ของการใช้หมวกนิรภัยอยู่ในระดับมาก พฤติกรรมการใช้หมวกนิรภัยอยู่ในระดับปานกลาง
References
กรมควบคุมโรค. (2553). ข้อเสนอแนะเพื่อความปลอดภัยในการเดินทางช่วงเทศกาลสงกรานต์พ.ศ. 2553 ประเด็น : พฤติกรรมเสี่ยงและการประเมินผลการดำเนินงานควบคุมป้องกันอุบัติเหตุบนท้องถนน. รายงานการเฝ้าระวังทางระบาดวิทยาประจำสัปดาห์, 41(9), 129-132.
กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ. (2546). มิติทางสังคม วัฒนธรรมของพฤติกรรมการใช้หมวกนิรภัย. นนทบุรี: กองสุขศึกษา กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข.
กาญจนีย์ ดำนาคแก้ว. (2551). ลักษณะของการบาดเจ็บจากการขับขี่รถจักรยานยนต์ ในตำนานเรื่อง อุบัติเหตุจากรถจักรยานยนต์. วิทยา ชาติบัญชาชัย (บ.ก.) (พิมพ์ครั้งที่ 2). ขอนแก่น: ขอนแก่นการพิมพ์.
จุฬาภรณ์ โสตะ, พรทิพย์ คำพอ, พงษ์ศักดิ์ ภูกาบขาว, อุดมการณ์ สาระรัตน์, และกฤติยา พลางวัน. (2550). ความพร้อมของชุมชนริมทางหลวงในการป้องกันและแก้ไขปัญหาอุบัติภัยจากการจราจร. วารสารสำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 6 ขอนแก่น, 14(2), 47-50.
ฉกาจน์ เทียมวงศ์. (2540). การรับรู้ถึงความปลอดภัยและทัศนะของผู้ขับขี่รถจักรยานยนต์ที่มีการสวมหมวกกันน๊อค (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: คณะสังคมสงเคราะห์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
บุญชม ศรีสะอาด. (2545). การวิจัยเบื้องต้น (พิมพ์ครั้งที่ 7). กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาสน์.
ปราณี ทองคำ, ทวี ทองคำ, และ จีราพร หิรัญรัตนธรรม. (2551). ปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการสวมหมวกของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายที่ขับขี่รถจักรยานยนต์ในเขตเทศบาลเมืองสุราษฎร์ธานี. สงขลานครินทร์ฉบับสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์, 14(2), 271-288.
พวงน้อย แสงแก้ว. (2546). ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมการขับขี่รถจักรยานยนต์อย่างปลอดภัยของนักศึกษาระดับอุดมศึกษา ในจังหวัดลำปาง (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). ลำปาง: สถาบันราชภัฎลำปาง.
พิทักษ์พงษ์ ครองชนม์. (2545). ทัศนคติและพฤติกรรมการใช้หมวกนิรภัยของผู้ขับขี่รถจักรยานยนต์ในเขตเทศบาลเมืองบางละมุง จังหวัดชลบุรี (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา.
ไพบูลย์ สุริยะวงศ์ไพศาล, และวิชัย เอกพลากร. (2546). ตำราระบาดวิทยาอุบัติเหตุจราจร. กรุงเทพฯ: โฮลิสติก พับลิชชิ่ง
มหิศร ประภาสะโนบล. (2551). พฤติกรรมการสวมหมวกนิรภัยของนักศึกษาภาคปกติมหาวิทยาลัยราชภัฎเพชรบุรี. วารสารวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎเพชรบุรี, 5(1), 35–44.
ยุทธนา วรุณปิติกุล, และสุพิตา เริงจิต. (2550). บันทึกโฉมหน้าอุบัติเหตุรถมอเตอร์ไซค์. กรุงเทพฯ: มูลนิธิสาธารณสุขแห่งชาติ.
วลักษณ์สุดา พัฒนไพโรจน์. (2549). การศึกษาการใช้หมวกนิรภัยในประเทศไทย: ปัญหาและข้อเสนอแนะ (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี.
วิไลวรรณ ศรีสงคราม และคณะ. (2549). จิตวิทยาทั่วไป. กรุงเทพฯ: ทริปเพิ้ล กรุ๊ป.
เสรี เศรษฐกร. (2541). การส่งเสริมให้นักศึกษาในมหาวิทยาลัยขอนแก่นสวมหมวกนิรภัย (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
อนุรักษ์ ปานจนิ ดาสกุล. (2546). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความรู้และทัศนคติเกี่ยวกับการใช้หมวกนิรภัยของผู้ขับขี่รถจักรยานยนต์ในเขตอำเภอวังจันทร์ จังหวัดระยอง (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารสุทธิปริทัศน์ ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสาร ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใดๆ
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารสุทธิปริทัศน์ ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารสุทธิปริทัศน์หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใด ๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากวารสารสุทธิปริทัศน์ก่อนเท่านั้น