ดัชนีชี้นำการเติบโตทางเศรษฐกิจสำหรับประเทศไทย

ผู้แต่ง

  • พฤทธ์สรรค์ สุทธิไชยเมธี คณะบริหารธุรกิจและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตจักรพงภูวนารถ

คำสำคัญ:

ดัชนีเตือนภัย, ดัชนีผสม, ดัชนีชี้นำ

บทคัดย่อ

บทความวิชาการฉบับนี้มีจุดประสงค์สำคัญคือ เพื่อสร้างองค์ความรู้ในการจัดทำดัชนีชี้นำการเติบโตทางเศรษฐกิจสำหรับประเทศไทย จากงานวิจัยประเภทต่างๆ ตลอดจนข้อค้นพบในงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

การจัดทำดัชนีชี้นำการเติบโตทางเศรษฐกิจสำหรับประเทศไทย พบว่า เป็นการสร้างดัชนีเตือนภัยทางด้านเศรษฐกิจให้กับประเทศ และเป็นแนวทางสำหรับปรับปรุงแก้ไขระบบเศรษฐกิจ นอกจากนี้ยังสามารถนำไปใช้เป็นแนวทางในการวางแผนนโนบายในอนาคตต่อไป

สำหรับการเลือกแนวทางการดำเนินงานนั้น รัฐบาลจะต้องให้ความสำคัญกับการจัดทำดัชนีชี้นำเศรษฐกิจของประเทศเป็นสำคัญ เพื่อให้การวางแผนด้านเศรษฐกิจของประเทศเกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลแบบยั่งยืนต่อไป อย่างไรก็ตาม เมื่อมีการจัดทำดัชนีเตือนภัยทุกครั้งจะต้องศึกษาตัวแปรสำคัญให้ครบถ้วนและครอบคลุมทั้งในประเทศเองและต่างประเทศ และการเลือกใช้แบบจำลองจะต้องเลือกให้เหมาะสมและเป็นแบบจำลองที่สามารถพยากรณ์ได้อย่างแม่นยำที่สุด

References

กฤษดา แพทย์หลวง, ธนวรรธ์ พลวิชัย, และเสาวนีย์ ไทยรุ่งโรจน์. (2543) โครงการศึกษาและจัดทำดัชนีชี้นำวัฏจักรธุรกิจระยะกลางและดัชนีวัฏจักรเงินเฟ้อสำหรับประเทศไทย. ใน การประชุมและสัมมนาทางวิชาการของกระทรวงพาณิชย์ 2543.

ประโยชน์ เพ็ญสุต. (2529). ผลการศึกษาและการจัดทำดัชนีชี้นำวัฏจักรธุรกิจของประเทศไทย. วารสารธรรมศาสตร์, 14(1).

ปราณี ทินกร. (2542). การวิเคราะห์ดัชนีชี้นำภาวะเศรษฐกิจสำหรับประเทศไทย. วารสารเศรษฐศาสตร์ธรรมศาสตร์, 17(3), 5-53.

พฤทธ์สรรค์ สุทธิไชยเมธี. (2553). เศรษฐมิติประยุกต์สำหรับการการวิจัย. กรุงเทพฯ: สายส่งดวงแก้ว.

สมศจี ศิกษมัต, และ นภดล บูรณะธนัง. (2543). ระบบสัญญาณเตือนภัยล่วงหน้าทางเศรษฐกิจ. การประชุมและสัมมนาทางวิชาการของธนาคารแห่งประเทศไทยประจำปี 2543.

Alan J. Auerbach. (1982). The Index of leading indicator. Journal of the American Statistical Association, 63.

Dickey, D. A. (1981). Likelihood ratio statistics for autoregressive time series with a unit root. Econometric (March 1987), 251-76.

Eswar S. Prasad. (1999). International trade and the business cycle. Journal of Econometrics, 53, 323-343.

Drapper, N. R, and Smith, H. (1981). Applied regression Analysis (2nd ed.). New York: John Wiley & Sons.

Hylleborg, S., Engle, R.F., Granger, C.W.J., and Yoo, B.S. (1990). Seasonal integration and Co integration. Journal of Econometrics, 200(32), 499–509.

Zenon G. Kontolemis. (1999). Analysis of the U.S. business cycle with a vector Markov Switching. Journal of American Statistical Association, 70, 417-422

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2020-08-06