ทิศทางการส่งออกอัญมณีและเครื่องประดับของประเทศไทยไปตลาดสหรัฐอเมริกา
คำสำคัญ:
สินค้าอัญมณีและเครื่องประดับ, การส่งออก, การพยากรณ์บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อวิเคราะห์ทิศทางการส่งออกสินค้าอัญมณีและเครื่องประดับของประเทศไทยไปตลาดสหรัฐอเมริกา ในการวิจัยนี้ได้วิเคราะห์ปัจจัยที่กำหนดอุปสงค์การนำเข้าอัญมณีและเครื่องประดับของประเทศสหรัฐอเมริกาจา ประเทศไทยแต่ละประเภท คือ เพชร พลอยและเครื่องประดับแท้ และพยากรณ์แนวโน้มการส่งออกอัญมณีและเครื่องประดับของประเทศไทยไปตลาดสหรัฐอเมริกา
ผลการวิจัยแสดงได้ดังนี้ ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่ออุปสงค์การนำเข้าอัญมณีและเครื่องประดับของประเทศสหรัฐอเมริกาจากประเทศไทย พบว่า ราคา (C.I.F) และอัตราแลกเปลี่ยนมีอิทธิพลต่อปริมาณการนำเข้าอัญมณีและเครื่องประดับแต่ละประเภทคือ เพชร พลอย และเครื่องประดับแท้ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01
ผลการพยากรณ์แนวโน้มการส่งออกอัญมณีและเครื่องประดับของประเทศไทยไปตลาดสหรัฐอเมริกาทั้ง 3 ประเภทคือ เพชร พลอย และเครื่องประดับแท้ มีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง
References
กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ. (2548). โครงการศึกษาผลกระทบที่เกิดจากการค้าไทย-สหรัฐอเมริกา. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ. (2548). สถิติการส่งออกอัญมณีและเครื่องประดับของไทย (World Trade Atlas). กระทรวงพาณิชย์.
กรมเศรษฐกิจการพาณิชย์. (2548). รายงานการวิจัยอัญมณีและเครื่องประดับ. กรุงเทพฯ : กระทรวงพาณิชย์.
กรมส่งเสริมการส่งออก. (2552). สถิติการส่งออกสินค้าโดยรวมแต่ละประเทศในตลาดโลก (Global Trade Atlas). กระทรวงพาณิชย์.
จีรพรรณ กุลดิลก. (2524). รายงานการวิจัยประสิทธิภาพการส่งออกของประเทศไทย. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
บรรษัทเงินทุนอุตสาหกรรมเเห่งประเทศไทย. (2529). รายงานเรื่องอุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับของประเทศไทย. กรุงเทพฯ.
พฤทธ์สรรค์ สุทธิไชยเมธี และคณะ. (2553) วิเคราะห์แนวโน้มการส่งออกยางพาราของประเทศไทยไปตลาดจีน งานวิจัย. ทุนวิจัยวิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม.
สถาบันวิจัยและพัฒนาอัญมณีและเครื่องประดับแห่งชาติ. (2546). โครงการจัดทำข้อมูลอุตสาหกรรมเชิงเปรียบเทียบเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน(สาขาอัญมณีและเครื่องประดับ). สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม, กระทรวงอุตสาหกรรม.
สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง. (2545). กองนโยบายและวางแผนพื้นฟูประเทศ. มาตรการส่งออกอัญมณีและเครื่องประดับของไทย, 50-76. กรุงเทพฯ : ผู้แต่ง.
สุพินดา วะศินรัตน์. ( 2538). ศึกษาศักยภาพการส่งออกของอุตสาหกรรมอัญมณีและ เครื่องประดับของไทยใน พ.ศ. 2531-2535. วิทยานิพนธ์เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ห้างทอง ธรรมวัฒนะ. (2535). รายงานเรื่องการวิเคราะห์ในภาพกว้าง และวิเคราะห์เเนวโน้มปัญหา อุปสรรคในอนาคตของอุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับของไทย. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพาณิชย์.
Akaike, H. (1969). Fitting Auto regressions for Prediction Annals of the Institute of Statistical Mathematics (Vol. 21, pp. 243-247). London Mc Millan.
Akaike, H. (1970). Autoregressive Model Fitting for Control Annals of the Institute of Statistical Mathematics (Vol.22, pp. 163-180). London Mc Millan.
Anderson, O.D. (1975). Time Series Analysis and Forecasting – The Box – Jenkins Approach. Butterworths, London: Mc Graw-Hill.
Balassa,B. 1989. Competitive Advantage Trade Policy and Economic Development. Great Britain : BPCC Weatons Ltd. Exeter.
Bank of India. 1997. Investing Licensing and Trading in India 1997.
Box, George and D. Piece. (1970). Distribution of Autocorrelations in Autoregressive Moving Average Time Series Models. Journal of the American Statistical Association (Vol.65, pp. 1509-26). American: Author.
Christ, C.F. (1986). Econometric Models and Method. John Wiley & Son, New York: Author.
Customs Department of India. 1996. Monthly Statistic of the Foreign Trade of India.
De Jong, D.V. (1992). The Power Problems of Unit Root Tests in Time Series with Autoregressive Errors. Journal of Econometrics (Vol. 53, pp. 323-343).New York: Author.
Dickey, and W.A. Fuller (1979). Distribution of the Estimators for Auto – Regressive Time Series with a Unit Root. Journal of American Statistical Association (Vol. 74, pp. 427-431). America: Author.
Dickey, D. A. (1981). Likelihood Ratio Statistics for Autoregressive Time Series with a Unit Root. Econometric. ( Vol. 2, pp. 251-76).
Granger, Clive and P. Newbold. (1974). Spurious Regressions in Econometrics. Journal of Econometrics (Vol. 2, pp. 111-20).
Hylleborg, S. Engle,R.F. Granger, C.W.J. and Yoo, B.S. (1990). Seasonal integration and Co integration. Journal of Econometrics (Vol. 1, pp. 200, 32, 499 – 509)
Marcus J. Chambers. (1982). The Analysis of Demand for Automobile Insurance in England (Vol. 3, pp. 111 – 153).
Nelson, C.R. (1973). Applied Time Series Analysis for Managerial Forecasting. Holden Day, San Francisco.
O’ Donovan, T.M. (1983). Short Term Forecasting. An Introduction to the Box – Jenkins Approach. John Wiley & Sons (Vol. 1, pp. 282). New York.
Porter, E.M. 1980. The Competitive Advantage of Nation. New York : A Division of Macmillan, Inc.
Tambunlertchai, S. and I. Yamazawa. 1981. Manufactured Export and Foreign Direct Investment. Research Report Series No.29. Faculty of Economics, Thammasat University.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารสุทธิปริทัศน์ ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสาร ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใดๆ
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารสุทธิปริทัศน์ ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารสุทธิปริทัศน์หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใด ๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากวารสารสุทธิปริทัศน์ก่อนเท่านั้น