ลักษณะการใช้ภาษาอังกฤษของนักวิชาการไทย : การศึกษาเบื้องต้น

ผู้แต่ง

  • จันทร์พา ทัดภูธร มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์

คำสำคัญ:

การใช้ภาษาอังกฤษของนักวิชาการไทย, การใช้คำยืม, การสลับ/ปนภาษา, การออกเสียง

บทคัดย่อ

ลักษณะการใช้ภาษาอังกฤษของนักวิชาการไทยได้รับอิทธิพลจากภาษาและวัฒนธรรมไทยค่อนข้างสูง ทำให้มีความเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัว การศึกษาเบื้องต้นนี้มีวัตถุประสงค์เพื่ออธิบายสถานะของภาษาอังกฤษในประเทศไทย และนำเสนอตัวอย่างการใช้ภาษาอังกฤษของนักวิชาการไทย โดยแบ่งออกเป็นห้าลักษณะ คือ (1) การออกเสียง (2) การใช้คำยืม (3) การสลับ/ปนภาษา (4) ชื่อและคำนำหน้าชื่อ (5) ธรรมเนียมการใช้วาทศิลป์ โดยได้ทำการวิเคราะห์ทั้งภาษาพูดและภาษาเขียนจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย อันได้แก่ หนังสือพิมพ์ บทความวิชาการ วิทยานิพนธ์ การเสวนาวิชาการ และการสัมภาษณ์

References

Thai
ปรารถนา กาลเนาวกุล (2544). การปนภาษาอังกฤษในภาษาไทยของรายการโทรทัศน์ : ลักษณะ ทัศนคติ การรับรู้ และแรงจูงใจ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย. กรุงเทพฯ.
อัญชลี ทองเอม. 2538. ภาษาไทยกับความเป็นชาติ สุทธิปริทัศน์. 10 (28), 65-71.
นภารัฐ ฐิติวัฒนา. 2539. การปนภาษาอังกฤษในภาษาไทยของอาจารย์ต่างสาขาวิชาในมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรมหาบัณฑิต. ภาควิชาภาษาศาสตร์. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ปริศรา ตันตินาคม. 2538. การศึกษาลักษณะการใช้ภาษาไทยของนักจัดรายการวิทยุ. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาศาสตร์และภาษาเอเชียอาคเนย์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล.

English
Beebe, L. M. (1981). Social and situational factors affecting the communicative strategy of dialect code-switching. International Journal of the Sociology of Language, 32, 139-149.
Cefola, Penchusee Lerdtadsin (1981). A Study of Interference of English in the Language of Thai Bilinguals in the United States. (Dissertation Abstracts International, Ann Arbor, 1982 Sept., 43:3, 786A)
Chakorn, O. (2009). Exploring Thai Forms of Address in Cross-Cultural English Business Correspondence. Paper presented at the AsiaTEFL-ThaiTESOL Conference 2009, Bangkok, Thailand.
Crystal, D. (1997). English as a Global Language. Cambridge: Cambridge University Press.
Haji Umar, Umaiyah (2006). The Influence of English in Contemporary Thai Slang. in Suddhiparitad. 20 (62), 114-120.
Intratat, C., (2001). “Thai Errors in Using English Adjectives”, The 21st Annual Thailand TESOL Conference “The Power of Practice”, January 18-20, Bangkok, Thailand, pp. 56-58.
Kanoksilapatham, B. (2007). Writing Scientific Research Articles in Thai and English: Similarities and Differences. in Silapokorn University International Journal. l7, 172-203.
Kapper, J. (1992). “English borrowing in Thai as reflected in Thai journalistic texts.” Work Papers of the Summer Institute of Linguistics, University of North Dakota 36: 1-17.
Kaplan, B. R. (1966). Cultural Thought Patterns in Inter-cultural Education. Language Learning, 16 (1-2), 1-20.
Kachru, B. (1985) Standards, codification and sociolinguistic realm: the language in the outer circle. In R. Quirk and H. G. Widdowson. Cambridge (eds.) English in the World. Cambridge: Cambridge University Press, 11-30.
Limtong, P. (1988 August). A case of a contextualized variety of English: English in the Thai context. In C. Bamroongraks et al. (Ed.), The International Symposium on Language and Linguistics, Bangkok, Thailand, (pp. 305-319). Thammasat University.
Na Ranong, Sirirat. (2009). “Bridging the Gap between SLA and ELT”. Paper presented at the 5th Thammasat University ELT Conference. 8 June 2009, Thammasat University, Bangkok, Thailand.
Phillipson, R. (1992). Linguistic Imperialism. Oxford: Oxford University Press.
Prasithrathsint, A. (1985). Changes in the Passive Constructions in Written Thai During the Bangkok Period. Ph. D. Dissertation, University of Hawaii.
Richards, J.C., Platt, J., and Weber, H. (1985). Longman Dictionary of Applied Linguistics. Harrow, Essex: Longman.
Sattayatham, A. & Honsa, S.(2007) ‘Medical students’ most frequent errors at Mahidol University, Thailand’ Asian EFL Journal, Vol. 9 (2)
Thadphoothon, J, “Voice Your Soil and Soul Through English as a Global Language,” Paper presented at the 2nd Creative Writing Workshop/Conference, September 21-24, 2004, Melaka, Malaysia.
Wiriyachitra, A. (2002). English language teaching and learning in Thailand in this decade. Thai TESOL Focus, 15(1), 4-9. Wiriyachitra, A. (2002). English language teaching and learning in Thailand in this decade. Thai TESOL Focus, 15(1), 4-9.
Watkhaolarm, P. (2005). Think in Thai, write in English: Thainess in Thai-English Literature. World Englishes. Vol. 24(2), pp. 145-158.

Appendix
1. Selected Articles from Matichon
สีดา สอนศรี. “ความชอบธรรมของผู้นำ บทเรียนจากต่างประเทศ,” มติชนรายวัน 1 ธันวาคม 2551, น. 6.
ศรีพงศ์ อุดมครบ. “การเมืองหน้าเว็บบอร์ด สำนึกตื่นตัวใหม่ภายใต้หน้ากาก,” มติชนรายวัน 1 ธันวาคม 2551, น. 7.
“นักวิชาการชี้ตลท. .เสือกระดาษ” มติชนรายวัน. 26 พฤศจิกายน 2551, น. 18.
วรากรณ์ สามโกเศศ. “หมีขาว” มติชนรายวัน. 28 พฤษภาคม 2552, น. 10.
วรากรณ์ สามโกเศศ. “พยากรณ์เศรษฐกิจไทย...ใจเย็นๆก็ได้” มติชนรายวัน. 12 กุมภาพันธ์ 2552.
2. Academic papers written in Thai & English in business-related disciplines
สุทธินันทน์ พรหมสุวรรณ การผสมผสานวัฒนธรรมในองค์การกับประสิทธิภาพ การทำงานเป็นทีม: กรณีของอุตสาหกรรมเคมีภัณฑ์และพลาสติกในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล BU Academic Review, 1(1) July-December 2002, pp. 34-44.
วิเชียร วงศ์ณิชชากุล ปัญหาพื้นฐานทางการตลาดที่มีผลกระทบต่อการขยายตลาดของผู้ผลิตเครื่องจักสานไม้ไผ่และหวายในเขตพื้นที่ทั่วภูมิภาคของประเทศไทย BU Academic Review, 2(1) July-December 2003, pp. 45-53.
โอฬาร ไชยประวัติ กระแสเศรษฐกิจโลก และ ทิศทางพัฒนาเศรษฐกิจไทย: นัยต่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์. สุทธิปริทัศน์. 9(25), 2537, 13-19.
สุฎิกา รักประสูติ สาขาวิชาชีพบัญชี: ความน่าเชื่อถืองบการเงินไทยในระบบธรรมาภิบาล สุทธิปริทัศน์. 20 (62), กันยายน-ธันวาคม 2549, 28-34
Suvit Maesincee, Krittinee Nuttavutthisit, Ake Ayawongs, and Naphisara Phasukavanich, 2003. Branding Thailand: Building a Favourable Country Image for Thai Products and Services. Sasin Journal of Management, Vol 9, 21-26.
Sooksan Kantabutra 2005 Leadership for Sustainable Organizations: A Proposed Model. Sasin Journal of Management, Vol 11, 59-72.
3. Theses
วณิธิชา ธรรมธนากูล. (2548). การศึกษาเปรียบเทียบเครื่องมือวิเคราะห์หลักทรัพย์ทางเทคนิคเพื่อทำนายสัญญาณซื้อขายหลักทรัพย์ในกลุมเกษตรและอุตสาหกรรมอาหารบางหลักทรัพย์. วิทยานิพนธ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
ปัทมา ค้าผล. (2544). ความคิดเห็นของบุคลากร การไฟฟ้าส่วนภูมิภาคเขต 3 (นครปฐม) ภาค 3 ที่มีต่อกระบวนการฝึกอบรม. วิทยานิพนธ์ บริหารธุรกิจมหาบัณฑิตมหาวิทยาลัยวิวัฒนา.
Kiananantha Lounkaew (2003). Technology Transfer and Local Technological Capability: A Case Study of Mould and Dies Industry in Thailand. Unpublished Master’s Degree Thesis. Thammasat University, Bangkok.
Warawadee Hemaratna (2001). Privatization and Technical Efficiency : An Empirical Analysis of the Airline Industry. Master Thesis. Faculty of Economics, Thammasat University.
Panukorn Chantaraprapab. The Effects of the United States and Thailand’s Macroeconomic News on Baht/Dollar Exchange Rate Behavior. Master’s Degree Thesis, Department of Economics, Chulalongkorn University, 2000.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2020-08-20