การกำหนดเหตุฉกรรจ์เกี่ยวกับการกระทำที่ใช้วิธีการที่ร้ายแรงและเป็นอันตราย กว่าการทำร้ายร่างกายผู้อื่นกรณีธรรมดาให้ต้องระวางโทษหนักขึ้น
คำสำคัญ:
เหตุฉกรรจ์ในความผิดฐานทำร้ายร่างกาย, การกระทำที่ใช้วิธีการที่ร้ายแรงและเป็นอันตราย, ผู้กระทำความผิดต้องได้รับโทษหนักขึ้นบทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวคิดและเหตุผลในการกำหนดเหตุฉกรรจ์ในความผิดฐานทำร้ายร่างกายผู้อื่นตามกฎหมายอาญาของไทยในอดีตจนถึงปัจจุบัน ตลอดจนศึกษาขอบเขตและปัจจัยในการกำหนดเหตุฉกรรจ์ ในความผิดฐานทำร้ายร่างกายผู้อื่น จากการศึกษาวิจัยพบว่า การกำหนดเหตุฉกรรจ์ในความผิดฐานทำร้ายร่างกายผู้อื่นยังมีข้อจำกัดที่ไม่ครอบคลุมถึงกระทำด้วยวิธีการที่ร้ายแรงอีกหลายประการที่มีความเป็นอันตราย ดังนั้น ผู้วิจัยเห็นว่า ควรบัญญัติเหตุฉกรรจ์เกี่ยวกับการใช้อาวุธ หรือสารพิษหรือสารเคมีอันตราย หรือสารเสพติด หรือด้วยการใช้ไฟหรือวัตถุที่ทำให้เกิดความร้อน หรือวัตถุที่ก่อให้เกิดอันตรายประการอื่น หรือการใช้สัตว์เป็นเครื่องมือในการกระทำความผิด อันมีผลทำให้ผู้กระทำความผิดฐานทำร้ายร่างกายผู้อื่นต้องรับโทษหนักขึ้น ทั้งนี้เพื่อคุ้มครองสังคม และเป็นหลักประกันการอยู่ร่วมกันของคนในสังคม อีกทั้งเพื่อข่มขู่ยับยั้งและลดอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับคนในสังคม
References
กรมศิลปากร. (2521). เรื่องกฎหมายตราสามดวง. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร.
เกียรติขจร วัจนะสวัสดิ์. (2546). ถาม-ตอบ ประมวลกฎหมายอาญาภาคความผิด (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: จิรรัชการ.
เกียรติขจร วัจนะสวัสดิ์. (2562). คำอธิบายกฎหมายอาญาภาค 1 (พิมพ์ครั้งที่ 11). กรุงเทพฯ: วิญญูชน.
คณพล จันทร์หอม. (2553). กฎหมายลักษณะอาญา รัตนโกสินทร์ ศก 127. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
คณิต ณ นคร. (2553). พื้นฐานความรู้เกี่ยวกับกฎหมายอาญา. กรุงเทพฯ: วิญญูชน.
คณิต ณ นคร. (2559). กฎหมายอาญาภาคความผิด (พิมพ์ครั้งที่ 11). กรุงเทพฯ: วิญญูชน.
คณิต ณ นคร. (2560). กฎหมายอาญาภาคทั่วไป (พิมพ์ครั้งที่ 6). กรุงเทพฯ: วิญญูชน.
จิตติ ติงศภัทิย์. (2532). กฎหมายอาญา ภาค 2 ตอน 2 และภาค 3 (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: สำนักอบรมกฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภา.
ทวีเกียรติ มีนะกนิษฐ. (2562). ประมวลกฎหมายอาญา ฉบับอ้างอิง (พิมพ์ครั้งที่ 42). กรุงเทพฯ: วิญญูชน.
ปกป้อง ศรีสนิท. (2559). กฎหมายอาญาชั้นสูง. กรุงเทพฯ: วิญญูชน.
ประเสริฐ ณ นคร. (2521). มังรายศาสตร์. กรุงเทพฯ: ภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร.
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 25 ฉบับพิเศษ วันที่ 1 มิถุนายน รัตนโกสินทร์ ศก 127.
ราชบัณฑิตยสถาน. (2525). พจนานุกรมราชบัณฑิตยสถาน. กรุงเทพฯ: อักษรเจริญทัศน์.
สัญชัย สัจจวานิช. (2514). คำอธิบายกฎหมายอาญาว่าด้วยความผิดเกี่ยวกับชีวิตและร่างกาย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แสวงสุทธิการณ์พิมพ์.
สุรศักดิ์ ลิขสิทธิ์วัฒนกุล. (2546). บันทึกของนายยอร์ช ปาดูซ์ (Georges Padoux) ที่ปรึกษาการร่างกฎหมายของรัฐบาลสยามเกี่ยวกับการร่างกฎหมายลักษณะอาญา ร.ศ. 127. กรุงเทพฯ: วิญญูชน.
สุรสิทธิ์ แสงวิโรจน์พัฒน์. (2558). วิเคราะห์คำพิพากษาศาลฎีกาด้วยหลักกฎหมายอาญาเยอรมัน. กรุงเทพฯ: เจริญรัฐการพิมพ์.
แสวง บุญเฉลิมวิภาส. (2542). ประวัติศาสตร์กฎหมายไทย. กรุงเทพฯ: วิญญูชน.
หยุด แสงอุทัย. (2548). คำอธิบายกฎหมายลักษณะอาญา (พิมพ์ครั้งที่ 6). กรุงเทพฯ: วิญญูชน.
อัจฉรียา ชูตินันทน์. (2556). คำอธิบายกฎหมายอาญาภาคความผิด (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.
อัจฉรียา ชูตินันทน์. (2562). นิติวิธีในการตีความกฎหมายอาญาของประเทศไทย. วารสารสุทธิปริทัศน์, 33(107), 251.
อัจฉรียา ชูตินันทน์. (2563). อาชญาวิทยาและทัณฑวิทยา (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ: วิญญูชน.
Bentham, Jeremy. (1907). An introduction to the principle of moral and registlation. Oxford: Clarendon Press.
Black, Henry Campbell. (1990). Black’s law dictionary (6th ed.). ST. Paul Minn: West.
Harfst, Gerold. (1998). German criminal law: Narcotics law, criminal law. Germany: Holger Harfst Verlag.
Omoregie, Jesse. (2015). Freewill: The degree of freedom within. Publisher: AuthorHouseUk.
Wise, Edward M., trans. (1978). The American series foreign of penal code, The Italian penal code 1978. London: Sweet: Maxwell.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารสุทธิปริทัศน์ ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสาร ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใดๆ
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารสุทธิปริทัศน์ ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารสุทธิปริทัศน์หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใด ๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากวารสารสุทธิปริทัศน์ก่อนเท่านั้น