ภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปราจีนบุรี เขต 1
คำสำคัญ:
ภาวะผู้นำทางวิชาการ, ผู้บริหารสถานศึกษา, ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพบทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา และชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปราจีนบุรี เขต 1 กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา และครูผู้สอน จำนวน 313 คน เครืองมือที่ใช้ในการเก็บและรวบรวมข้อมูลคือ แบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นตามหลักวิชาการที่ได้คุณภาพมาตรฐาน วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา
ผลการวิจัยพบว่าความเป็นผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารกับชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ มีการปฏิบัติอยู่ในระดับมาก มีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 โดยภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารสามารถพยากรณ์ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพได้ถึงร้อยละ 88.90 (R2 = 0.889) มีข้อเสนอแนะแนวทางในการพัฒนาภาวะผู้นำทางวิชาการคือ หน่วยงานต้นสังกัดควรมีนโยบายกำหนดให้ผู้บริหารได้รับการพัฒนาให้เป็นผู้มีวิสัยทัศน์กว้างไกลทุกๆ 3-5 ปี ให้สามารถสร้างความสามัคคีในการทำงาน พัฒนาคุณภาพการศึกษาและส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ของครู
References
กรองกาญจน์ นาแพร่. (2560). การเป็นชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพที่ส่งผลต่อประสิทธิผลการบริหารงานวิชาการในโรงเรียนประถมศึกษาของรัฐจังหวัดสมุทรสาคร (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). นครปฐม: มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม.
กระทรวงศึกษาธิการ. (2546). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545 พร้อม กฎกระทรวงที่เกี่ยวข้องและพระราชบัญญัติการศึกษาภาคบังคับพ.ศ. 2545. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์ (ร.ส.พ.).
เกตุอัมพร มียิ่ง. (2560). ปัจจัยภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อคุณภาพการจัดการเรียนรู้ของครูโรงเรียนเอกชนสังกัดมูลนิธิแห่งสภาคริสตจักรในประเทศไทย. วารสารสุทธิปริทัศน์, 31(100), 983-994.
เกียรติชัย ศรีระชัย. (2556). ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นําทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษากับการดําเนินงานตามยุทธศาสตร์การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบึงกาฬ (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). เลย: มหาวิทยาลัยราชภัฎเลย.
ขวัญจิตต์ เนียมเกตุ. (2552). ภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารขนาดเล็ก สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานครศรีธรรมราช เขต 3 (การศึกษาค้นคว้าอิสระ). นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
จอมพงศ์ มงคลวนิช. (2556). การบริหารองค์การและบุคลากรทางการศึกษา. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ณรงค์ฤทธิ์ อินทนาม. (2553). การพัฒนาหลักเทียบสำหรับการสร้างชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพในโรงเรียน (ปริญญานิพนธ์ปริญญาดุษฏีบัณฑิต). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ณัฐกา นครสูงเนิน. (2556). ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารกับการเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้ของโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเลย เขต1 (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). เลย: มหาวิทยาลัยราชภัฎเมืองเลย.
นภาดาว เกตุสุวรรณ. (2555). ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นําทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาพอเพียงกับการขับเคลื่อนปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงของสถานศึกษาในสังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 4 (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.
ประเวศ วะสี. (2550). การเรียนรู้ใหม่ไปให้พ้นวิกฤต. กรุงเทพฯ: ร่วมด้วยช่วยกัน.
ปริฉัตร เล็กตวง. (2554). ภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาสุพรรณบุรีเขต 2 (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา.
เพ็ญนภา พลับฉิม. (2559). ภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อ ประสิทธิผลของโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 2 (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). นครปฐม: มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม.
ไพเราะ พัตตาสิงห์. (2554). การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นําทางวิชาการกับการส่งเสริมการวิจัยในชั้นเรียนของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอ่างทอง (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). พระนครศรีอยุธยา: มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา.
วรลักษณ์ ชูกำเนิด. (2557). รูปแบบชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพครูสู่การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 บริบท โรงเรียนในประเทศไทย (ปริญญานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต). ปัตตานี: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
วาสนา ทองยิ่งยศ. (2560). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพของครูในสถานศึกษาระดับมัธยมศึกษา (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยราชมงคลธัญบุรี.
วิจารณ์ พานิช. (2555). วิธีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ ในศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ: มูลนิธิสดศรีสฤษดิ์วงศ์.
วิษณุ จุลวรรณ. (2547). การวิเคราะห์องค์ประกอบของภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดสระบุรี (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). พระนครศรีอยุธยา: มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา.
วิเชียร ทองคลี่. (2554). การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษากับการจัดการเรียนรู้ในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 31 (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). นครราชสีมา: มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา.
สิทธิพร นิยมศรีสมศักดิ์. (2556). หลักการนิเทศการศึกษา. ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา.
สุภัคจิรา อ่อนสัมฤทธิ์. (2561). ปัจจัยที่สัมพันธ์กับการดำเนินงานชุมชนการเรียนรู้วิชาชีพของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพระนครศรีอยุธยาเขต 1 (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). พระนครศรีอยุธยา: มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา.
เสริมศักดิ์ วิศาลาภรณ์. (2552). ภาวะผู้นำ ประมวลสาระชุดวิชาทฤษฎีและแนวปฏิบัติในการบริหารการศึกษา หน่วย 5-8 (พิมพ์ครั้งที่ 9). นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
Chell, J. (2001). Introducing principals to the role of instructional leadership: A summary of a master’s project by Jan Chell. Retrieved from http://www.ssta.sk.ca/research/leadership/95-14.htm
Davis, G. A., & Thomas, M. A. (1989). Effective school and effective teacher. Boston: Allyn and Bacon.
Dufour, D. (2112). Professional learning community by design: Putting the learning. New York: South- Western.
Hallinger, P., & Murphy, J. (1985). Assessing the instructional management behaviour of principals. The Elementary School Journal, 86, 217-247.
Hargreaves, A. (2003). Teaching in the knowledge society: Education in the age of insecurity. New York: Teachers' College Press and Buckingham.
Hord, S. M. (2010). Professional learning communities: Communities of inquiry and improvement. Austin: Southwest Educational Development Laboratory. Retrieved from https://sedl.org/siss/plccredit.html
Hoy, A. W., & W. K. Hoy. (2003). Instructional leadership: A learning-centred guide. Boston: Allyn and Bacon.
Krug, R. E. (1992). Leadership and performance beyond expectations. New York: Free Press.
McEwan, E. K. (1998). Seven step to effective instructional leadership. Thousand Oaks: Corwin Press.
Murphy, J. (1990). Principal instructional leadership. In L.S. Lotto and P.W. Thurston (Eds.), Advances in educational administration: Changing perspectives on the school, vol.1. Greenwich, Conn.: JAI Press
Sergiovanni, T. J. (1994). Building community in schools. San Francisco: Jossey- Bass.
Weber, M. (1989). The theory of social and economic organization. New York: Oxford University Press.
Winter, J. S., & Sweeney, J. (1994). Improving school climate: Administrators Are Key. NASSP Bulletin October, 78(564), 65-59. Retrieved from https://doi.org/10.1177/019263659407856414
Yamane, T. (1973). Statistics: An introductory analysis (3rd ed.). New York: Harper and Row Publications.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2022 มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารสุทธิปริทัศน์ ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสาร ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใดๆ
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารสุทธิปริทัศน์ ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารสุทธิปริทัศน์หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใด ๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากวารสารสุทธิปริทัศน์ก่อนเท่านั้น