ผลกระทบของการใช้วิธีการตรวจสอบระยะไกลที่มีต่อประสิทธิผลการปฏิบัติงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาตแห่งประเทศไทยในสถานการณ์แพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019

ผู้แต่ง

  • อัญชนา เหมวงศ์กุล สาขาวิชาการบัญชี สถาบันการอาชีวศึกษาภาคเหนือ 1

คำสำคัญ:

ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต, ประสิทธิผลการปฏิบัติงานของผู้สอบบัญชี, การวางแผนการตรวจสอบระยะไกล, การปฏิบัติงานตรวจสอบระยะไกล, การสรุปผลการตรวจสอบระยะไกล

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทดสอบผลกระทบของการใช้วิธีการตรวจสอบระยะไกลที่มีต่อประสิทธิผล การปฏิบัติงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาตแห่งประเทศไทยในสถานการณ์แพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามส่งผ่านระบบไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ ได้รับข้อมูลจากผู้สอบบัญชีรับอนุญาตแห่งประเทศไทย จำนวน 125 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ ซึ่งมีค่าความเชื่อมั่นของครอนบราคเท่ากับ 0.906 สถิติที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ จำนวน ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์การถดถอยหพูคูณ ผลการวิจัยพบว่าการวางแผนการตรวจสอบระยะไกล การปฏิบัติงานตรวจสอบระยะไกล และการสรุปผลการตรวจสอบระยะไกลมีผลกระทบทางบวกต่อประสิทธิผลการปฏิบัติงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาตแห่งประเทศไทยในสถานการณ์แพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019

References

กรมตรวจสอบบัญชี. (2563). เอกสารประกอบการบรรยาย การตรวจสอบบัญชีระยะไกล (Remote Audit). กรุงเทพฯ: ผู้แต่ง.

กิตติคม จีนเหรียญ. (2560). อิทธิพลของความรู้ความสามารถ คุณลักษณะหลักฐานการสอบบัญชีที่ดี และความสามารถทางการบริหารงานที่มีต่อคุณภาพการสอบบัญชี ของผู้สอบบัญชีรับอนุญาตในประเทศไทย(วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศรีปทุม, กรุงเทพฯ). สืบค้นจาก https://so01.tci-thaijo.org/index.php/crrugds_ejournal/article/download/169039/121624/

จิรพร สุเมธีประสิทธิ์. (2564). Remote auditing ตามให้ทัน เตรียมให้พร้อมรับมือโควิท 19 ระลอก 2 สมาคมผู้ตรวจสอบภายในแห่งประเทศไทย. สืบค้น 20 พฤษภาคม 2565, จาก https://www.theiiat.or.th

จุฑาทิพ อัสสะบำรุงรัตน์. (2563). ถึงเวลาที่เราจะนำ Remoting audit มาใช้กันหรือยัง?. สืบค้น 8 พฤษภาคม 2565, จาก https://www. tfac.or.th/upload/9414/u1H3XbDOW3.pdf

โชติมา กิจศิรกร. (2563). ผลกระทบจากโควิด-19 ต่อการจัดทำงบการเงิน. สืบค้น 28 พฤษภาคม 2565, จาก https://daa.co.th/th/ข่าวสาร/ข่าวสารวิชาชีพ/item/309-ผลกระทบจากโควิด-19-ต่อการจัดทำงบการเงิน.html

นรินทิพย์ ฉลาดพจนพร. (2564). วิชาชีพบัญชีในภาวะวิกฤตโรคระบาด: ผลกระทบและการปรับตัวในภาวะแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โรคโควิด 19). วารสารบริหารธุรกิจและสังคมศาสตร์ (มหาวิทยาลัยรามคำแหง), 4(3), 33-41. https://so02.tci-thaijo.org/index.php/ibas/article/download/252740/171047/931101

ปราณี มีหาญพงษ์, และ กรรณิการ์ ฉัตรดอกไม้ไพร. (2561). การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือวิจัยทางการพยาบาล. วารสารพยาบาลทหารบก, 19(1), 23-44. https://so02.tci-thaijo.org/index.php/JFAC/article/view/249356/169494.

พิสมัย อรรถธรรมสุนทร. (2564). การตรวจสอบบัญชีสหกรณ์ระยะไกล (Remote audit). สืบค้น 18 พฤษภาคม 2565, จาก https://research.cad.go.th/ewt_dl_link.php?nid=246&filename=index.

เยาวนาถ หมานหมุ้ย. (2559). ผลกระทบและจรรยาบรรณของผู้สอบบัญชีต่อประสิทธิภาพระบบ การควบภายในและคุณภาพงานสอบบัญชีสหกรณ์ (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, สงขลา). สืบค้นจาก https://kb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2016/11505/1/418004.pdf

สณิสรณ์ ปานสมุทร์. (2564). แนวทางการตรวจสอบความสามารถในการดำเนินงานต่อเนื่องในภาวการณ์แพร่ระบาดโควิด 19. วารสารสภาวิชาชีพบัญชี, 3(8), 23-44. https://so02.tci-thaijo.org/index.php/JFAC/article/view/ 249356/169494

สภาวิชาชีพบัญชี ในพระบรมราชูปถัมภ์. (2563). การปฏิบัติงานตรวจสอบในสถานการณ์โรคระบาด. สืบค้น 28 พฤษภาคม 2565. จาก https://www.tfac.or.th/upload/9414/3xklNpPMjk.pdf

สุขุม รัตนเสรีเกียรติ. (2564). ข้อดี ข้อเสียสำหรับการตรวจแบบ Remote audit. สืบค้น 30 พฤษภาคม 2565, จาก https://www.tpa.or.th/writer/read_this_book_topic.php?bookID=5116&pageid=1&read=true&count=true

อรอนงค์ อินจู. (2563). การตรวจสอบบัญชีระบบทางไกล Remote audit กรณีศึกษาสหกรณ์การเกษตรก้าวหน้าจำกัด. วารสารตรวจบัญชีสหกรณ์, 1(1), 96-105.

BSI Group (Thailand). (2562). Remote Audit การตรวจประเมินระยะไกล เทคโนโลยีโลกเสมือนจริง ความเชี่ยวชาญที่เชื่อถือได้. สืบค้น 18 พฤษภาคม 2565, จาก https://www.bsigroup.com/th-TH/Our- services/Certification/ remote-audit/

Aaker, D. A., Kumar, V., & Day, G. S. (2001). Marketing research. New York: John Wiley and Sons.

Anderson, J. C., & Gerbing, D. W, (1988), Structural equation modeling in practice: A review and recommended two-step approach. Psychological Bulletin. https://doi.org/10.1037/0033-09.103.3.411

Black, K. (2006). Business statistics for contemporary decision making (4th ed.). New York: John Wiley & Sons.

Brown, V. L. (2016). Audit quality indicators: Perceptions of junior-level auditors. Managerial Auditing Journal, 31(8/9), 949-980.

Crucean, A. C., & Hategan, C. D. (2021). Effects of the covid-19 pandemic estimated in the financial statements and the auditor's report. Audit Financiar, 1(1611), 105–118.

Curtis, B. (2019). Voices why you and your audit team should consider a remote audit next year. Accounting Today. Retrieved April 3, 2020, from www.accountingtoday.com

Diamantopoulos, A., Siguaw, J., & Siguaw, J. A, (2000), Introducing LISREL: A guide for the uninitiated. Introducing LISREL: A guide for the uninitiated. Retrieved from https://doi.org/10.1111/j.1467-629X.2008.00284.x

Fornell, C., & Larcker, F. (1981). Evaluating structural equation models with unobservable variables and measurement errors. Journal of Marketing Research, 18(1), 39–50.

Habib, L. J. A., Parker, S., & Peters, G. F. (2014), Earnings management, litigation risk, and asymmetric audit fee responses. Auditing: A journal of Practice & theory, 25(1), 85-98.

Jabin, S. (2021), The impact of COVIC-19 on the accounting profession in Bangladesh. Journal of Industrial Distribution & Business, 12(7), 7-14.

Krejcie, R. V., & Morgan, D. W. (1970). Determining sample size for research activities. Educational and Psychological Measurement, 30(3), 607–610.

Public Company Accounting Oversight Board. (2015). Concept release on audit quality indicators, PCAOB Release No. 2015-005. Washington, DC.: PCAOB. Retrieved from http://pcaobus.org/Rules/Rulemaking/Docket%20041/Release_2015_005.pdf

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-09-29