อิทธิพลของการตลาดบนสื่อสังคมออนไลน์ต่อการรับรู้ตราแบรนด์และการบอกต่อของศิษย์เก่าที่มีต่อความตั้งใจสมัครเข้าเรียนมหาวิทยาลัย การศึกษาเปรียบเทียบนักศึกษาเนปาลและนักศึกษาไทย

ผู้แต่ง

  • เมกน่า ประธาน สาขาบริหารธุรกิจ คณะวิทยาลัยนานาชาติ สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์
  • สุนิดา พิริยะภาดา คณะวิทยาลัยนานาชาติ สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์

คำสำคัญ:

การตลาดผ่านสื่อสังคมออนไลน์, การรับรู้ต่อแบรนด์, การตลาดแบบปากต่อปากของศิษย์เก่า, ความตั้งใจในการสมัครเข้าเรียน

บทคัดย่อ

วัตถุประสงค์ของการศึกษาคือ เพื่อประเมินและเปรียบเทียบอิทธิพลของการตลาดบนสื่อสังคมออนไลน์ของมหาวิทยาลัย การบอกเล่าปากต่อปากของศิษย์เก่า และการรับรู้ต่อแบรนด์ที่มีต่อการสมัครเข้าเรียนมหาวิทยาลัยที่คาดหมายของนักศึกษาชาวเนปาลและ นักศึกษาไทยในระดับปริญญาตรี กลุ่มละ 161 คน  ที่ศึกษาระดับมัธยมปลายจนถึงปริญญาโท ในการรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูล ผู้วิจัยใช้เทคนิคการวิจัยเชิงปริมาณ วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบสะดวกและแบบสำรวจออนไลน์ เพื่อรวบรวมข้อมูลจากผู้ตอบแบบสอบถามในประเทศไทยและเนปาล และใช้การวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ เพื่อทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร จากผลการวิจัยพบว่า การตลาดผ่านสื่อสังคมออนไลน์มีอิทธิพลอย่างมากต่อการตลาดแบบปากต่อปากผ่านศิษย์เก่าและการรับรู้ต่อแบรนด์ ในขณะที่การบอกต่อแบบปากต่อปากของศิษย์เก่ามีความสำคัญทางสถิติต่อการรับรู้ต่อแบรนด์ด้วยเช่นกัน นอกจากนี้ การรับรู้ต่อแบรนด์ยังส่งผลต่อความตั้งใจในการสมัครเข้าเรียนมหาวิทยาลัยในกลุ่มนักศึกษาทั้งเนปาลและไทย อย่างไรก็ตาม การตลาดผ่านสื่อสังคมออนไลน์ไม่มีนัยสำคัญทางสถิติต่อความตั้งใจในการสมัครเข้าเรียนมหาวิทยาลัยของนักเรียนไทย ตรงกันข้ามในชุดข้อมูลของกลุ่มตัวอย่างนักศึกษาชาวเนปาลพบว่า การการตลาดแบบปากต่อปากผ่านศิษย์เก่าไม่มีความสัมพันธ์ทางสถิติต่อความตั้งใจในการสมัครเข้าเรียนมหาวิทยาลัยของนักศึกษา ผลวิจัยที่ได้จากหัวข้อวิจัยนี้สามารถนำไปใช้ประโยชน์โดยฝ่ายรับสมัครนักศึกษาของมหาวิทยาลัยในสองประเทศ เพื่อนำไปปรับปรุงความพยายามในการรับสมัครนักศึกษาและเป็นข้อมูลพื้นฐานในการวางกลยุทธ์ต่อไป

References

Bohara, S., Suri, P., & Panwar, D. (2022). Impact of brand awareness on enrollment decision process moderated by students' gender for HEI. Journal of Content, Community & Communication, 15(8), 227-241. https://doi.org/10.31620/JCCC.06.22/16

Chen, C., & Zimitat, C. (2006). Understanding Taiwanese students’ decision‐making factors regarding Australian international higher education. International Journal of Educational Management, 20(2), 91–100. https://doi.org/10.1108/09513540610646082

Choudaha, R. (2013). Social media in international student recruitment. Association of International Education Administrators. https://www.aieaworld.org/assets/docs/Issue_Briefs/social_media_recruitment_issue_brief2013march.pdf

Constantinides, E., & Zinck Stagno, M. C. (2011). Potential of the social media as instruments of higher education marketing: A segmentation study. Journal of Marketing for Higher Education, 21(1), 7–24. https://doi.org/10.1080/08841241.2011.573593

Constantinides, E., & Zinck Stagno, M. C. (2012). Higher education marketing: A study on the impact of social media on study selection and university choice. International Journal of Technology and Educational Marketing, 2(1), 41–58. https://doi.org/10.4018/ijtem.2012010104

Geho, P. R., & Dangelo, J. (2012). The evolution of social media as a marketing tool for entrepreneurs: Semantic scholar. The Entrepreneurial Executive, 17, 61. https://www.semanticscholar.org/paper/The-Evolution-of-Social-Media-as-a-Marketing-Tool-Geho-Dangelo/ca12f2f59dd97e848e49483309346c25d00652fd

Gray, B. J., Shyan Fam, K., & Llanes, V. A. (2003). Branding universities in Asian markets. Journal of Product & Brand Management, 12(2), 108–120. https://doi.org/10.1108/10610420310469797

Green, S. B. (1991). How many subjects does it take to do a regression analysis. Multivariate Behavioral Research, 26, 499-510. http://dx.doi.org/10.1207/s15327906mbr2603_7

Hootsuite. (2022). Social media trends 2022. https://www.hootsuite.com/resources/blog/social-media-trends-2022

Kozinets, R. V., de Valck, K., Wojnicki, A. C., & Wilner, J. S. (2010). Networked narratives: Understanding word-of-mouth marketing in online communities. Journal of Marketing, 74(2), 71–89. https://doi.org/10.1509/jmkg.74.2.71

Lester, J. (2012). Writing research papers: A complete guide. Pearson Education.

Mazzarol, T., & Soutar, G. N. (2002). “Push‐pull” factors influencing international student destination choice. International Journal of Educational Management, 16(2), 82–90. https://doi.org/10.1108/09513540210418403

Mulyono, H. (2016). Brand awareness and brand image of decision making on university. Jurnal Manajemen Dan Kewirausahaan, 18(2), 163-173. http://repository.unama.ac.id/1136/

National Statistical Office. (2018). Statistic report. http://www.nso.go.th/sites/2014en/home

Polyorat, K. (2011). The influence of brand personality dimensions on brand identification and word-of-mouth: The case study of a university brand in Thailand. Asian Journal of Business Research, 1(1). https://ssrn.com/abstract=2345569

Shields, A. B., & Peruta, A. (2019). Social media and the university decision: Do prospective students really care?. Journal of Marketing for Higher Education, 29(1), 67–83. https://doi.org/10.1080/08841241.2018.1557778

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-09-30