คาร์บอนเครดิต: วิกฤติและโอกาสเศรษฐกิจไทย

ผู้แต่ง

  • ศิวะนันท์ ศิวพิทักษ์ วิทยาลัยบริหารธุรกิจนวัตกรรมและการบัญชี มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์
  • คุณากร วิวัฒนากรวงศ์ วิทยาลัยบริหารธุรกิจนวัตกรรมและการบัญชี มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์
  • พันธกานต์ ทานนท์ คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์

คำสำคัญ:

คาร์บอนเครดิต, สถานการณ์ตลาดคาร์บอนเครดิต, วิกฤติและโอกาสสำหรับเศรษฐกิจไทย

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาความเป็นมาตลาดคาร์บอนเครดิต 2. เพื่อวิเคราะห์สถานการณ์ตลาดคาร์บอนเครดิตในประเทศไทย 3. เพื่อวิเคราะห์วิกฤติและโอกาสสำหรับเศรษฐกิจไทยจากคาร์บอนเครดิต จากการทบทวนวรรณกรรม พบว่า ในระหว่างรอบปีที่ผ่านมาก๊าซเรือนกระจกเป็นปัญหาสิ่งแวดล้อมหลักที่ต้องการแก้ไขด่วน เพราะการเพิ่มขึ้นของก๊าซเรือนกระจกมีผลกระทบที่เลวร้ายต่อมนุษย์ รวมถึงการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิอากาศและระดับน้ำทะเลที่สูงขึ้น มีผลกระทบลบต่อหลายด้าน ดังนั้น ประเทศต่าง ๆ ได้ร่วมมือกันในการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ผ่านพิธีสารเกียวโตในปี ค.ศ. 1997 เป็นต้นแบบของคาร์บอนเครดิต มาตรการด้านสิ่งแวดล้อมได้รับการยอมรับว่าสำคัญในการแข่งขันทางการค้า เช่นกฎหมาย Clean Competition Act ของสหรัฐอเมริกาและระบบ European Union Emission Trading Scheme ของสหภาพยุโรป ในขณะที่ประเทศไทยก็พยายามสร้างความร่วมมือระหว่างภาคส่วนทุกภาคในการลดก๊าซเรือนกระจกผ่านคาร์บอนเครดิต การรับรู้ถึงความสำคัญของคาร์บอนเครดิตควรมาจากระดับยุทธศาสตร์และความร่วมมือระหว่างองค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจกและหน่วยงานภายใต้กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม องค์กรและบริษัทใหญ่ร่วมกันเริ่มทำการลงทะเบียนโรงงานที่ใช้พลังงานสีเขียวตามมาตรฐานคาร์บอนเครดิตและพัฒนาระบบการขึ้นทะเบียนและระบบการซื้อขายคาร์บอนเครดิตของตนเอง การนำโรงงานที่ใช้พลังงานสีเขียวไปขึ้นทะเบียนจะเป็นการดีต่อภาพลักษณ์และความไว้วางใจขององค์กร การซื้อขายคาร์บอนเครดิตยังเป็นการสมัครใจในประเทศไทย และรัฐบาลควรสนับสนุนและส่งเสริมการทำธุรกิจเชิงสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะในด้านเทคโนโลยีและการเงิน เพื่อสร้างความได้เปรียบในการแข่งขันในตลาดโลกในอนาคต

References

อุปสรรคทำให้คนไทยไม่ได้เงินจากลดโลกร้อน. (2560, 24 กรกฎาคม). คมชัดลึก. https://www.komchadluek.net/news/scoop/288984

กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อม. (ม.ป.ป.). แผนการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศแห่งชาติ. http://www.oic.go.th/FILEWEB/CABINFOCENTER38/DRAWER027/GENERAL/DATA0000/00000852.PDF

กระทรวงพลังงาน, สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน. (2567). การปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์แยกรายชนิดเชื้อเพลิงและรายสาขาเศรษฐกิจ. https://www.eppo.go.th/index.php/th/energy-information/static-energy/static-CO2

ธีรวงศ์ เหล่าสุวรรณ, พรชัย อุทรักษ์, และ หนึ่งฤทัย พลทำ. (2555). คาร์บอนเครดิต: ธุรกิจลดโลกร้อน. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 31(2), 178-185. https://www.thaiscience.info/journals/Article/JSMU/10888217.pdf

เนติวรรณ ดวงศรี, เกรียงศักดิ์ โชติจรุงเกียรติ์, จีระศักดิ์ ดิษฐพลขันธ์, ธิติ เตชะไพโรจน์, และ จุฑามาศ นันทโพธิเดช. (2564). ปัญหากฎหมายเกี่ยวกับการซื้อขายคาร์บอนเครดิตในประเทศไทย. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี, 10(1), 145-158. https://so06.tci-thaijo.org/index.php/hsudru/article/view/247859

บริษัท รับเบอร์ กรีน จำกัด. (2553). คาร์บอนเครดิต: ธุรกิจมลพิษกู้โลกร้อน. http://www.rubbergreen.co.th/บทความสีเขียว/คาร์บอนเครดิต.html

บัณฑูร เศรษฐศิโรตม์, ชยันต์ ตันติวัสดาการ, ปัทมาวดี โพชนุกูล ซูซูกิ, นิรมล สุธรรมกิจ, และ ชโลทร แก่นสันติสุขมงคล. (2551). โครงการพัฒนาความรู้และยุทธศาสตร์ด้านความตกลงพหุภาคีระหว่างประเทศด้านสิ่งแวดล้อม (รายงานฉบับสมบูรณ์ เล่ม 3) [รายงานผลการวิจัย, สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์วิจัยและนวัตกรรม]. TU Digital Collections. https://digital.library.tu.ac.th/tu_dc/frontend/Info/item/dc:71385

ประเสริฐ สินสุขประเสริฐ. (2566). นโยบายและแผนพลังงานหมุนเวียนของประเทศไทย. https://www.thailand-energy-academy.org/assets/upload/coursedocument/file/Renewable%20Energy%20Policy.pdf

พิเชษฐ์ จานชัยภูมิ. (2564). การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ. https://shorturl.asia/N4nkW

พิสุทธิ์ เพียรมนกุล, ณัฐวิญญ์ ชวเลิศพรศิยา, ภาวินี พงศ์พันธ์พฤทฺธิ์, รัชนัน ชำนาญหมอ, และ อริสรา เพียรมนกุล. (2564, 11 สิงหาคม). ปรับกระบวนทัศน์การพัฒนาเพื่อมุ่งสู่ความเป็นกลางทางคาร์บอนของสังคมไทย. https://shorturl.asia/zMHDc

มูลนิธิสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย. (2553). แนวทางการส่งเสริมการพัฒนาโครงการกลไกการพัฒนาที่สะอาด. องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (องค์การมหาชน).

วนัสนันท์ กันทะวงศ์. (2565). การฟอกเขียวด้วยการซื้อขายคาร์บอนเครดิตในประเทศไทย [ปริญญานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]. Chula Digital Collections. https://digital.car.chula.ac.th/chulaetd/6721/?utm_source=digital.car.chula.ac.th%2Fchulaetd%2F6721&utm_medium=PDF&utm_campaign=PDFCoverPages

วิกานดา วรรณวิเศษ. (2558). คาร์บอนเครดิต: ธุรกิจลดโลกร้อน. สำนักวิชาการ สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา.

ศิริรัตน์ สังขรักษ์, พัชชาพันธ์ รัตนพันธ์, อาทิตย์ เพ็ชร์รักษ์, และ สุทธิรัตน์ กิตติพงษ์วิเศษ. (2563). ผลกระทบของสภาพภูมิอากาศที่เปลี่ยนแปลงต่อทรัพยากรน้ำและการจัดการ, วารสารสิ่งแวดล้อม, 24(1), 1-8. https://ej.eric.chula.ac.th/storage/ckeditor/file/file-264-Thai-987218034.pdf

สนค. เผยตลาดคาร์บอนเครดิตโตแรง ชี้เป็นโอกาสภาคเกษตรไทยส่งออกสินค้าลดคาร์บอน. (2566, 7 เมษายน). ผู้จัดการออนไลน์. https://mgronline.com/business/detail/9660000032411

องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (องค์การมหาชน). (2555). ตลาดคาร์บอนเครดิต. https://carbonmarket.tgo.or.th/

องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (องค์การมหาชน). (ม.ป.ป.). ตลาดคาร์บอนคืออะไร. https://carbonmarket.tgo.or.th/index.php?lang=TH&mod=Y29uY2VwdF9tYXJrZXQ=

Eryk Szmyd. (n.d.). Emissions trading - How to invest in carbon CO2?. https://www.xtb.com/en/education/emissions-trading

Intergovernmental Panel on Climate Change. (1996). Greenhouse gas inventory reference manual Intergovernmental Panel on Climate Change. Cambridge University Press. https://krungthai.com/Download/economyresources/EconomyResourcesSlideInfographic_474Slide_REC.pdf

Marcu, A., Hernández, J. F. L., Alberola, E., Fare, A., Qin, B., O’Neill, M., Schleicher, S., Caneill, J. Y., Bonfiglio, E., & Vollmer, A. (2020, April 26). 2022 state of the EU ETS report. https://ercst.org/2020-state-of-the-eu-ets-report/

Organisation for Economic Co-operation and Development. (2021, January 26). Investment policy reviews: Thailand. https://www.oecd.org/daf/inv/investment-policy/Investment-Policy-Review-Thailand-2021.pdf

Pye, O. (2012). Carbon markets and REDD in South-East Asia: An interview with Chris Lang from REDD-Monitor. ASEAS-Austrian Journal of South-East Asian Studies, 5(2), 352-358. https://doi.org/10.4232/10.ASEAS-5.2-11

The World Bank Group and Asian Development Bank. (2021). Thailand - Climate change knowledge portal. https://climateknowledgeportal.worldbank.org/sites/default/files/2021-08/15853-WB_Thailand%20Country%20Profile-WEB_0.pdf

United Nations. (2020). World investment report 2020: International production beyond the pandemic. https://unctad.org/system/files/official-document/wir2020_en.pdf

United Nations Development Programme. (2021). UNDP annual report 2020. https://www.undp.org/publications/undp-annual-report-2020

United Nations Framework Convention on Climate Change. (2023). What is the United nations framework convention on climate change?. https://unfccc.int/process-and-meetings/what-is-the-united-nations-framework-convention-on-climate-change

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-12-13