การศึกษาความสามารถในการทำกำไรที่ส่งผลต่อคุณภาพกำไรของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

ผู้แต่ง

  • กัลยา ตันมณี สาขาวิชาการบัญชี คณะบริหารธุรกิจและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ
  • ธนธร จงศิริฐิติศักดิ์ สาขาวิชาการบัญชี คณะบริหารธุรกิจและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ
  • ณัฐวุฒิ ปัทมาคม สาขาวิชาการบัญชี คณะบริหารธุรกิจและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ

คำสำคัญ:

ความสามารถในการทำกำไร, คุณภาพกำไร, ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

บทคัดย่อ

บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความสามารถในการทำกำไรที่ส่งผลต่อคุณภาพกำไรของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เป็นการใช้รูปแบบการวิจัยเชิงปริมาณ โดยศึกษาจากทุติยภูมิ ซึ่งเก็บข้อมูลจากงบการเงิน แบบแสดงรายการข้อมูลประจำปี (แบบ 56-1) และรายงานประจำปีของบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยและ SETSMART ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2563 ถึงปี พ.ศ. 2565 ตลอดทั้ง 3 ปี มีกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 465 บริษัท รวม 1,395 ข้อมูล สถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1. สถิติเชิงพรรณนา ประกอบด้วย ค่าต่ำสุด ค่าสูงสุด ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ 2. สถิติเชิงสถิติเชิงอนุมาน ประกอบด้วย การวิเคราะห์ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สันและการวิเคราะห์สมการถดถอยแบบพหุคูณ

ผลการวิจัยพบว่า ความสามารถในการทำกำไรที่ส่งผลต่อคุณภาพกำไรของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ได้แก่ อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ส่งผลในทิศทางเดียวกันต่อคุณภาพกำไรที่วัดด้วยวิธีรายการคงค้างจากเงินทุนหมุนเวียน ส่วนอัตราส่วนเงินสดต่อการทำกำไรส่งผลในทิศทางตรงกันข้ามต่อคุณภาพกำไรที่วัดด้วยวิธีรายการคงค้างจากเงินทุนหมุนเวียน และอัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ อัตรากำไรขั้นต้นและอัตรากำไรสุทธิส่งผลในทิศทางเดียวกันต่อคุณภาพกำไรที่วัดด้วยวิธีรายการคงค้างจากการดำเนินงานสุทธิ ส่วนอัตราส่วนเงินสดต่อการทำกำไรส่งผลในทิศทางตรงกันข้ามต่อคุณภาพกำไรที่วัดด้วยวิธีรายการคงค้างจากการดำเนินงานสุทธิ อย่างมีนัยสำคัญระดับที่ 0.01

References

กนกวรรณ แก้วนุ่น. (2560). ความสัมพันธ์ระหว่างความสามารถในการทำกำไรกับอัตราผลตอบแทนจากส่วนต่างราคาหุ้นของบริษัทหมวดประกันภัยและประกันชีวิตที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย [การค้นคว้าอิสระปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา]. คลังปัญญาแห่งชายแดนใต้. http://wb.yru.ac.th/xmlui/handle/yru/4961

จิรบุษ สันโดษ. (2548). ความสัมพันธ์ระหว่างผลการดำเนินงานทางการเงินและรายการคงค้างของกิจการบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ชญาดา จวงสังข์. (2563). ความสัมพันธ์ระหว่างความสามารถในการทำกำไรกับคุณภาพกำไรของกลุ่มอสังหาริมทรัพย์และก่อสร้างที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย [การค้นคว้าอิสระปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศรีปทุม]. สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยศรีปทุม. http://dspace.spu.ac.th/handle/123456789/8079

ดารานาถ พรหมอินทร์ และกุสุมา ดำพิทักษ์. (2561). ความสัมพันธ์ของผลการดำเนินงานและคุณภาพกำไรต่อราคาตลาดหลักทรัพย์ของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย กลุ่มอุตสาหกรรมเทคโนโลยี. วารสารวิทยาลัยบัณฑิตศึกษาการจัดการ มข., 11(2), 37-59. https://shorturl.asia/6Cq0Y

ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. (ม.ป.ป.). ความเป็นมาและบทบาท. https://www.set.or.th/th/about/overview/journey

ธัญลักษณ์ วิจิตรสาระวงศ์. (2560). วิเคราะห์เจาะลึกรายงานทางการเงินและการประเมินมูลค่าตราสารทุน. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

บุรพร กำบุญ, ณรงค์ฤทธิ์ ยิ้มเจริญพรสกุล, ฌัสยันต์ ธนันท์จิระโชติ, และศิรชญาน์ การะเวก. (2565). ความสัมพันธ์ระหว่างอัตราส่วนความสามารถในการทำกำไรกับเงินปันผลของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. วารสารสหศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล, 22(1), 67-84. https://www.shorturl.asia/s71Bb

พรพิมล ทวนทอง. (2565). ความสัมพันธ์ระหว่างความสามารถในการทำกำไรกับประสิทธิภาพในการดำเนินงานและผลตอบแทนจากการลงทุนของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย กลุ่มอุตสาหกรรมบริการ [การค้นคว้าอิสระปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศรีปทุม]. สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยศรีปทุม. http://dspace.spu.ac.th/handle/123456789/9501

พิมพ์ผกา ใจมุข, วัฒนา เถาว์ชาลี, นฤรัตน์ ตรีเพ็ชร, ณัฐดนัย สุขเจริญ, นริศรา คงเพ็ชรศักดิ์, ปัฐทินี มีสุข, และสุวิทย์ พลฤทธิ์. (2564). ความสัมพันธ์ระหว่างประสิทธิภาพผลการดำเนินงานและคุณภาพกำไรของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ เอ็มเอไอ ประเทศไทย. วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎธนบุรี, 3(1), 39-51. https://www.shorturl.asia/ytJeO

ภัคธีมา วงศ์สามารถ. (2565). คุณภาพกำไรกับผลการดำเนินงานของกิจการในกลุ่มบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยรังสิต]. RSUIR at Rangsit University. https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/2104

รจนา ขุนแก้ว และมัทนชัย สุทธิพันธุ์. (2566). ความสัมพันธ์ระหว่างคุณลักษณะของคณะกรรมการตรวจสอบและคุณภาพกำไร: กรณีศึกษากลุ่มประเทศสามเหลี่ยมเศรษฐกิจ อินโดนีเซีย มาเลเซีย ไทย. วารสารวิชาชีพบัญชี, 19(61), 5-34. http://www.jap.tbs.tu.ac.th/files/Article/Jap61/Full/JAP61RojMut.pdf

รุ่งรัศมี ดีปราศรัย. (2566). ความสามารถในการทำกำไรที่ส่งผลต่อมูลค่าหลักทรัพย์ในตลาดของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย กลุ่มหุ้นยั่งยืน. วารสารวิชาการศรีปทุม ชลบุรี, 19(3), 124-132. https://shorturl.asia/awZiD

ศรัญญา คมขุนทด. (2555). ปัจจัยที่มีผลต่อการจัดการกำไรผ่านรายการคงค้างของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยที่ถูกสั่งแก้ไขงบการเงิน [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยขอนแก่น]. มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

สิงห์ชัย อรุณวุฒิพงศ์. (2562). คุณภาพของกำไร. เอกสารภาษีอากร, 38(455).

สุวภัทร แย้มพราย. (2565). การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประสิทธิภาพการดำเนินงานและคุณภาพกำไรต่อความสามารถในการทำกำไรในอนาคตช่วงโควิด-19 ของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย กลุ่มอุตสาหกรรมเทคโนโลยี [การค้นคว้าอิสระปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์]. TU Digital Collections. https://digital.library.tu.ac.th/tu_dc/frontend/Info/item/dc:305155

เสาวลักษณ์ ไชยนันทน์. (2566). ความสัมพันธ์ระหว่างอัตราความสามารถในการทำกำไรกับราคาตลาดหลักทรัพย์ของกลุ่มประกันภัยและประกันชีวิตที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. วารสารวิทยาการจัดการปริทัศน์, 25(3), 67-78. https://shorturl.asia/9zKtZ

อภิญญามาศ ชมภู. (2564). ความสัมพันธ์ระหว่างความสามารถในการทำกำไรและความสามารถในการบริหารหนี้สินกับการจ่ายเงินปันผลของบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (กลุ่ม SET100) [การค้นคว้าอิสระปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศรีปทุม]. สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยศรีปทุม. http://dspace.spu.ac.th/handle/123456789/8070

Bradshaw, M. T., Richardson, S. A., & Sloan, R. G. (1999). Earnings quality and financial reporting credibility: An empirical investigation. http://dx.doi.org/10.2139/ssrn.17055.

Firdaus, I. M., & Trisnaningsih, S. (2023). The Influence of firm size and profitability on earnings quality (Case study of infrastructure, utilities, and transportation sector companies listed on the Indonesia Stock Exchange in 2019-2021). International Journal of Economics, Business and Accounting Research, 7(2), 473-485. https://jurnal.stie-aas.ac.id/index.php/IJEBAR

Pinem, A., Rahmayuni, S., Jaya, E., Susanto, E., & Azizah, B. (2024). The influence of profitability and company size on earnings quality with capital structure as an intervening variable. Journal of Business Orientation and Entrepreneurship, 5(1), 14-25. https://doi.org/10.33476/jobs.v5i1.4156

Sloan, R. G. (1996). Do stock prices fully reflect information in accruals and cash flows about future earnings? The Accounting Review, 71(3), 289-315. https://ssrn.com/abstract=2598

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-12-13