ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเติบโตของอุตสาหกรรมการผลิตรถยนต์ในประเทศไทย

ผู้แต่ง

  • สาโรจน์ เสือเฒ่า สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ผู้ประกอบการ คณะบริหารธุรกิจและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก
  • พัชรี ชยากรโศภิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ผู้ประกอบการ คณะบริหารธุรกิจและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก

คำสำคัญ:

อุตสาหกรรมการผลิตรถยนต์, ปริมาณการผลิตรถยนต์, ดัชนีผลิตภาพแรงงานยานยนต์, ประเทศไทย

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อปริมาณการผลิตของอุตสาหกรรมการผลิตรถยนต์ของประเทศไทย โดยข้อมูลที่ใช้ประกอบด้วยตัวแปรในอุตสาหกรรมการผลิตรถยนต์ของประเทศไทย ซึ่งเป็นข้อมูลทุติยภูมิแบบอนุกรมเวลารายเดือน ตั้งแต่เดือนมกราคมปี พ.ศ. 2560 ถึงเดือนธันวาคมปี พ.ศ. 2566 จำนวนทั้งหมด 84 เดือน นำมาวิเคราะห์ด้วยการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ (Multiple Regression Analysis: MRA) ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05

ผลการวิจัยพบว่า ปริมาณส่งออกรถยนต์ไปยังต่างประเทศ ปริมาณการขายรถยนต์ภายในประเทศ การนำเข้าสินค้าทุน ดัชนีผลิตภาพแรงงานอุตสาหกรรมยานยนต์ มาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจปี 2562 มีอิทธิพลและมีความสัมพันธ์เชิงบวกต่ออุตสาหกรรมการผลิตรถยนต์ของประเทศไทย ส่วนนโยบายส่งเสริมยานยนต์ไฟฟ้าปี พ.ศ. 2565 มีอิทธิพลและมีความสัมพันธ์เชิงลบต่ออุตสาหกรรมการผลิตรถยนต์ของประเทศไทย ตัวแปรเหล่านี้มีอำนาจพยากรณ์ในภาพรวมได้ร้อยละ 70.3 ขณะที่ดัชนีการลงทุนภาคเอกชน อัตราแลกเปลี่ยนเงินตราบาทต่อดอลลาร์สหรัฐอเมริกา ราคาน้ำมันดิบ และนโยบายผลักดัน
การผลิตและการใช้ยานยนต์ไฟฟ้า 30@30 ไม่มีอิทธิพลต่ออุตสาหกรรมการผลิตรถยนต์ของประเทศไทยอย่างมีนัยสำคัญผลการศึกษาดังกล่าวสามารถนำมาใช้เป็นแนวทางในการวางแผนรองรับการเปลี่ยนแปลงของอุตสาหกรรมการผลิตรถยนต์ได้ในอนาคต

References

กองวิจัยเศรษฐกิจอุตสาหกรรม. (2565). ความท้าทายของการส่งออกชิ้นส่วนยานยนต์ไทยในอนาคต. https://www.oie.go.th/assets/portals/1/fileups/2/files/ArticlesAnalysis/Challenges_Exporting_AutoParts_Future.pdf

ค่าเงินบาทแข็ง VS ค่าเงินบาทอ่อน ใครได้ ใครเสีย? (2567). ธนาคารแห่งประเทศไทย. https://www.bot.or.th/th/research-and-publications/articles-and-publications/bot-magazine/256601131vocabstoryfx.html

ณัฐธิญา ราชธิสาร และวีณา ลีลาประเสริฐศิลป์. (2564). ปัจจัยที่เป็นตัวกำหนดการเจริญเติบโตทางด้านเศรษฐกิจของประเทศไทย. http://www2.huso.tsu.ac.th/NCOM/husoicon2021/fullPDF/202115133725-462.pdf

ดิษฐวัฒน์ พรรณประสาทน์ และปณัทพร เรืองเชิงชุม. (2562). การเพิ่มผลิตภาพแรงงานด้วยการลดความสูญเปล่าในกระบวนการล้างรถ กรณีศึกษาธุรกิจคาร์แคร์ จังหวัดกาฬสินธุ์. วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 36(2), 113-139. https://so03.tci-thaijo.org/index.php/jms_psu/article/view/189840

ธนันรัตน์ พวงนุ่ม. (2549). ปัจจัยกำหนดปริมาณการส่งออกยางพาราของไทยไปประเทศจีน [สารนิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยรามคำแหง]. ThaiLIS Digital Collection. https://tdc.thailis.or.th/tdc/dccheck.php?Int_code=53&RecId=7077&obj_id=54632&showmenu=no

ธนาคารแห่งประเทศไทย. (2567). รายงานนโยบายการเงิน ไตรมาสที่ 4 ปี 2567. https://www.bot.or.th/content/dam/bot/documents/th/our-roles/monetary-policy/mpc-publication/monetary-policy-report/MPR_2567_Q4.pdf

นเรศ กิจจาพัฒนพันธ์. (2560). การคาดการณ์ GDP ภาคอุตสาหกรรม. กองวิจัยเศรษฐกิจอุตสาหกรรม. https://www.oie.go.th/assets/portals/1/fileups/2/files/ArticlesAnalysis/Industrial_GDP_Forecast.pdf

ปริวัฒน์ ช่างคิด. (2562). เอกสารประกอบการเรียนวิชา: ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับนโยบายสาธารณะ. วิทยาลัยชุมชนระนอง.

ผกามาศ คั่งฆะ. (2562). ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อมูลค่าการส่งออกรถยนต์พิกัด (H8704) จากประเทศไทยไปออสเตรเลีย [การศึกษาค้นคว้าอิสระปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย]. สำนักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย. https://searchlib.utcc.ac.th/library/onlinethesis/309450.pdf

พิชัย ถีระมัด. (2567). ตัวกำหนดการเติบโตทางด้านอุตสาหกรรมการผลิตเหล็กสำเร็จรูปของประเทศไทย [การค้นคว้าอิสระปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก]. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก.

มนณิกา ลิ้มธนากุล. (2563). ปัจจัยต่อการพัฒนาเศรษฐกิจของสิงคโปร์: คำอธิบายผ่านตัวแบบรัฐพัฒนา [สารนิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]. Chula ETD. https://digital.car.chula.ac.th/chulaetd/7357/

วิระยา ทองเสือ. (2566). ส่องทิศทางอุตสาหกรรมชิ้นส่วนยานยนต์ไทยปี 2566-2567. https://krungthai.com/Download/economyresources/EconomyResourcesDownload_1918Research_Note_Auto_Part_20_03_66.pdf

ศุภวัฒน์ โชคสวัสดิ์ไพศาล. (2567). แนวโน้มธุรกิจ/อุตสาหกรรม ปี 2567-2569: อุตสาหกรรมรถยนต์ไฟฟ้า. ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำกัด (มหาชน). https://www.krungsri.com/th/research/industry/industry-outlook/hi-tech-industries/electric-vehicle/io/electric-vehicle-2024

สกุล ศุภมาร์คภัคดี. (2562). ปัจจัยที่มีผลต่อมูลค่าการส่งออกรถยนต์ของประเทศไทยไปยังประเทศออสเตรเลีย [การศึกษาค้นคว้าอิสระปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย]. สำนักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย. https://searchlib.utcc.ac.th/library/onlinethesis/309264.pdf

สถาบันยานยนต์. (2562). ศูนย์สารสนเทศยานยนต์. https://data.thaiauto.or.th

สถาบันยานยนต์. (2565). การศึกษาการเปลี่ยนผ่านห่วงโซ่อุปทานไปสู่อุตสาหกรรมยานยนต์สมัยใหม่. https://data.thaiauto.or.th/auto/articles-th/auto-articles-th/10488-การศึกษาการเปลี่ยนผ่านห่วงโซ่อุปทานไปสู่อุตสาหกรรมยานยนต์สมัยใหม่.html

สมบัติ ท้ายเรือคำ. (2545). การวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ (MRA) การวิเคราะห์เส้นทาง (PA) และการวิเคราะห์องค์ประกอบ (FA). การวัดผลการศึกษา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 8, 37-46. https://so02.tci-thaijo.org/index.php/jemmsu/article/view/154728

สรัลพร เดชรัตนวิไชย. (2562). การลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศและการแพร่กระจายผลิตภาพการผลิตในอุตสาหกรรมยานยนต์ของประเทศไทย [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]. Chula ETD. https://digital.car.chula.ac.th/chulaetd/9020/

สำนักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์, ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร. (2567). รายงานข้อมูลสถิติการค้าระหว่างประเทศของไทย. https://tradereport.moc.go.th/th/stat/reportmonth03

เสาวณี จันทะพงษ์ และอโนมา พุทธารี (2566). ไทยจะอยู่ในห่วงโซ่อุปทานโลกหลังโควิด 19 และปัญหาภูมิรัฐศาสตร์ได้อย่างไร วิเคราะห์จากมุมมองการนำเข้าสินค้าทุน: ตอน 1. ธนาคารแห่งประเทศไทย. https://www.bot.or.th/th/research-and-publications/articles-and-publications/articles/Article_10Apr2023.html

อรรถพล สืบพงศกร และปีรติ อ่องสุรักษ์. (2557). การศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่ออุปสงค์รถยนต์และการพยากรณ์อุปสงค์รถยนต์ในประเทศไทย: กรณีศึกษา กลุ่มตลาดรถยนต์นั่งขนาดเล็กและกลุ่มตลาดรถยนต์นั่งกึ่งบรรทุก. วารสารเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 18(2), 27-70. https://so01.tci-thaijo.org/index.php/CMJE/article/view/60986

ttb analytics ห่วงอุตสาหกรรมยานยนต์ไทยกำลังเจอปัญหาเชิงโครงสร้างรุนแรงสุดในรอบหลายสิบปี. (2567, 22 มีนาคม). ธนาคารทหารไทยธนชาต จำกัด (มหาชน). https://www.ttbbank.com/th/newsroom/detail/ttba-thai-automotive-industry-2024

Chowdhury, S. G., & Chatterjee, S. (2020). Determinants of Indian automobile industry growth. Eurasian Journal of Business and Economics, 13(26), 65-91. https://doi.org/10.17015/ejbe.2020.026.04

Manh, P. H., Lam, H. X., Kien, T. T., & Ha, N. T. T. (2022). Investment & economic growth: A nexus between domestic investment and foreign direct investment in Vietnam. International Journal of Economics and Finance Studies, 14(4), 1-18. https://doi.org/10.34109/ijefs.20220101

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2025-03-10

How to Cite

เสือเฒ่า ส., & ชยากรโศภิต พ. (2025). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเติบโตของอุตสาหกรรมการผลิตรถยนต์ในประเทศไทย . วารสารสุทธิปริทัศน์, 39(1), 86–105. สืบค้น จาก https://so05.tci-thaijo.org/index.php/DPUSuthiparithatJournal/article/view/277333