การเติบโต ความถดถอย และการฟื้นตัวขบวนการนักศึกษาไทย
คำสำคัญ:
การเมืองไทย, ขบวนการนักศึกษา, ประชาธิปไตย, เผด็จการทหาร, รัฐประหาร 2557บทคัดย่อ
บทความชิ้นนี้ศึกษาปัจจัยการเติบโต ความถดถอย และการ ฟื้นฟูบทบาทขบวนการนักศึกษาในการเมืองไทยนับตั้งแต่ทศวรรษ 2510 จนถึงปัจจุบัน โดยอาศัยกรอบปัจจัยเรื่อง “ระบบการเมือง” ภายใต้ทฤษฎี ขบวนการเคลื่อนไหวทางสังคม (social movement theory) ที่ใช้อธิบาย บทบาททางการเมืองที่แตกต่างกันของขบวนการนักศึกษาในประเทศที่มี อุตสาหกรรมก้าวหน้ากับประเทศในโลกที่สาม สำาหรับการเมืองไทยในช่วง ทศวรรษ 2510 ภายใต้รัฐบาลเผด็จการทหาร โครงสร้างทางการเมืองไม่เอื้อ ใหต้วัแสดงทางการเมอืงอนื่ๆ ไดร้บัการพฒันา ในขณะทนี่กัศกึษาเปน็ชนชนั้ กลางกลุ่มใหม่ที่มีทุนทางสังคมและการเมืองสูงกว่ากลุ่มอื่นๆ จึงกลายเป็น พลังสำาคัญในการเปลี่ยนแปลงทางการเมือง ในขณะที่ช่วงทศวรรษ 2520 – 2550 การเมืองไทยภายใต้บริบทการเติบโตของประชาธิปไตยและเสรีภาพ ทางการเมอืง ทาำใหเ้กดิการขยายตวัของพลงัและสถาบนัทางการเมอืงทหี่ลาก หลายและมีประสิทธิภาพมากขึ้น ส่งผลให้นักศึกษามีบทบาททางการเมือง น้อยลงโดยเปรียบเทียบ แต่หลังรัฐประหารในปี 2557 การเมืองไทยกลับสู่ บริบททางการเมืองแบบเผด็จการ พลังการเมืองต่างๆ ที่เคยมีบทบาทก่อน หน้านี้ถูกควบคุมอย่างเข้มข้นโดยรัฐบาลทหาร นักศึกษาซึ่งมีสถานะพิเศษ ทั้งจากมรดกทางประวัติศาสตร์ และสถานภาพพิเศษของสถาบันอุดมศึกษา ทาำใหข้บวนการนกัศกึษากลายเปน็หนงึ่ในพลงัทางการเมอืงทสี่าำคญัเพยีงไม่ กี่พลังที่ยังคงยืนหยัดต่อต้านระบอบเผด็จการทหาร12บทความชิ้นนี้ศึกษาปัจจัยการเติบโต ความถดถอย และการ ฟื้นฟูบทบาทขบวนการนักศึกษาในการเมืองไทยนับตั้งแต่ทศวรรษ 2510 จนถึงปัจจุบัน โดยอาศัยกรอบปัจจัยเรื่อง “ระบบการเมือง” ภายใต้ทฤษฎี ขบวนการเคลื่อนไหวทางสังคม (social movement theory) ที่ใช้อธิบาย บทบาททางการเมืองที่แตกต่างกันของขบวนการนักศึกษาในประเทศที่มี อุตสาหกรรมก้าวหน้ากับประเทศในโลกที่สาม สำาหรับการเมืองไทยในช่วง ทศวรรษ 2510 ภายใต้รัฐบาลเผด็จการทหาร โครงสร้างทางการเมืองไม่เอื้อ ใหต้วัแสดงทางการเมอืงอนื่ๆ ไดร้บัการพฒันา ในขณะทนี่กัศกึษาเปน็ชนชนั้ กลางกลุ่มใหม่ที่มีทุนทางสังคมและการเมืองสูงกว่ากลุ่มอื่นๆ จึงกลายเป็น พลังสำาคัญในการเปลี่ยนแปลงทางการเมือง ในขณะที่ช่วงทศวรรษ 2520 – 2550 การเมืองไทยภายใต้บริบทการเติบโตของประชาธิปไตยและเสรีภาพ ทางการเมอืง ทาำใหเ้กดิการขยายตวัของพลงัและสถาบนัทางการเมอืงทหี่ลาก หลายและมีประสิทธิภาพมากขึ้น ส่งผลให้นักศึกษามีบทบาททางการเมือง น้อยลงโดยเปรียบเทียบ แต่หลังรัฐประหารในปี 2557 การเมืองไทยกลับสู่ บริบททางการเมืองแบบเผด็จการ พลังการเมืองต่างๆ ที่เคยมีบทบาทก่อน หน้านี้ถูกควบคุมอย่างเข้มข้นโดยรัฐบาลทหาร นักศึกษาซึ่งมีสถานะพิเศษ ทั้งจากมรดกทางประวัติศาสตร์ และสถานภาพพิเศษของสถาบันอุดมศึกษา ทาำใหข้บวนการนกัศกึษากลายเปน็หนงึ่ในพลงัทางการเมอืงทสี่าำคญัเพยีงไม่ กี่พลังที่ยังคงยืนหยัดต่อต้านระบอบเผด็จการทหาร