วิสาหกิจชุมชนบุญนิยม: การก่อรูปชีวิตทางสังคมและกลยุทธ์ทางเศรษฐกิจของชาวอโศก

ผู้แต่ง

  • บัณฑิต ศิริรักษ์โสภณ

คำสำคัญ:

ชุมชนศึกษา, พุทธศาสนาเถรวาท, ขบวนการอโศก, วิสาหกิจ ชุมชน, บุญนิยม

บทคัดย่อ

“อโศก” เป็นขบวนการพุทธศาสนาหนึ่งที่ก่อรูปขึ้นในสังคมไทย ในต้นทศวรรษ 2510 ขบวนการดังกล่าวปรากฏตัวตนและความเป็นองค์กร เอกเทศชัดเจน เมื่อผู้นำาทางจิตวิญญาณของชาวอโศกคือสมณะโพธิรักษ์ ประกาศแยกตัวจากการปกครองของมหาเถรสมาคม เมื่อปี พ.ศ. 2518 “อโศก” ทำางานเผยแผ่พระพุทธศาสนาตามแนวทางของตัวเอง โดยอ้างอิง การปฏิบัติตามหลักพระธรรมวินัยของพระพุทธเจ้า ด้วยการก่อตั้งชุมชน อโศกขึ้นในที่ต่างๆ พร้อมกับขยายเครือข่ายสมาชิกหรือ “ญาติธรรม” ออก ไปอย่างกว้างขวาง ชุมชนและเครือข่ายดังกล่าวทำาหน้าที่เป็นองค์กรผลิต ทางเศรษฐกิจภายใต้หลักปรัชญาที่ชาวอโศกเรียกว่า “บุญนิยม” บทความนี้ ผู้เขียนพยายามทำาความเข้าใจพลวัตทางเศรษฐกิจของชาวอโศกผ่าน “วสิาหกจิชมุชนบญุนยิม” โดยแยกพจิารณาเปน็ 3 ชว่งตามลาำดบัเวลา ไดแ้ก่ ยุคก่อกำาเนิด “อโศก” (พ.ศ. 2513-2530) ยุค “อโศก” สร้างสัมพันธ์กับสังคม ภายนอก (พ.ศ. 2531-2539) และ ยุค “อโศก” หลังห้วงวิกฤตเศรษฐกิจ ประเทศไทย (พ.ศ. 2540 - ปจัจบุนั) ผเู้ขยีนเสนอวา่ “วสิาหกจิชมุชนบญุนยิม” เปน็ตวัแบบเชงิอดุมคตขิองเศรษฐกจิทอ่ีงิกบัคณุคา่เชงิศลีธรรมในพทุธศาสนา และเป็นกลยุทธ์ที่ชาวอโศกปรับเปลี่ยนความหมายให้แก่เศรษฐกิจทุนนิยม สมัยใหม่ พร้อมทั้งจัดวางสถานะที่แน่นอนของตนเองในสังคมไทยในฐานะ ตัวแบบที่เข้มงวดสำาหรับการผลิตในอุดมคติที่ทั้งพึ่งตัวเองและช่วยเหลือ ผู้อื่นไปพร้อมๆ กัน“อโศก” เป็นขบวนการพุทธศาสนาหนึ่งที่ก่อรูปขึ้นในสังคมไทย ในต้นทศวรรษ 2510 ขบวนการดังกล่าวปรากฏตัวตนและความเป็นองค์กร เอกเทศชัดเจน เมื่อผู้นำาทางจิตวิญญาณของชาวอโศกคือสมณะโพธิรักษ์ ประกาศแยกตัวจากการปกครองของมหาเถรสมาคม เมื่อปี พ.ศ. 2518 “อโศก” ทำางานเผยแผ่พระพุทธศาสนาตามแนวทางของตัวเอง โดยอ้างอิง การปฏิบัติตามหลักพระธรรมวินัยของพระพุทธเจ้า ด้วยการก่อตั้งชุมชน อโศกขึ้นในที่ต่างๆ พร้อมกับขยายเครือข่ายสมาชิกหรือ “ญาติธรรม” ออก ไปอย่างกว้างขวาง ชุมชนและเครือข่ายดังกล่าวทำาหน้าที่เป็นองค์กรผลิต ทางเศรษฐกิจภายใต้หลักปรัชญาที่ชาวอโศกเรียกว่า “บุญนิยม” บทความนี้ ผู้เขียนพยายามทำาความเข้าใจพลวัตทางเศรษฐกิจของชาวอโศกผ่าน “วสิาหกจิชมุชนบญุนยิม” โดยแยกพจิารณาเปน็ 3 ชว่งตามลาำดบัเวลา ไดแ้ก่ ยุคก่อกำาเนิด “อโศก” (พ.ศ. 2513-2530) ยุค “อโศก” สร้างสัมพันธ์กับสังคม ภายนอก (พ.ศ. 2531-2539) และ ยุค “อโศก” หลังห้วงวิกฤตเศรษฐกิจ ประเทศไทย (พ.ศ. 2540 - ปจัจบุนั) ผเู้ขยีนเสนอวา่ “วสิาหกจิชมุชนบญุนยิม” เปน็ตวัแบบเชงิอดุมคตขิองเศรษฐกจิทอ่ีงิกบัคณุคา่เชงิศลีธรรมในพทุธศาสนา และเป็นกลยุทธ์ที่ชาวอโศกปรับเปลี่ยนความหมายให้แก่เศรษฐกิจทุนนิยม สมัยใหม่ พร้อมทั้งจัดวางสถานะที่แน่นอนของตนเองในสังคมไทยในฐานะ ตัวแบบที่เข้มงวดสำาหรับการผลิตในอุดมคติที่ทั้งพึ่งตัวเองและช่วยเหลือ ผู้อื่นไปพร้อมๆ กัน

Author Biography

บัณฑิต ศิริรักษ์โสภณ

หน่วยงานสังกัด               นักวิจัยในโครงการเมธีวิจัยอาวุโส สกว. ศาสตราจารย์ ดร. เสมอชัย พูลสุวรรณ

ความสนใจทางวิชาการ   มีความสนใจทางวิชาการด้านมานุษยวิทยาศาสนาและความเชื่อ มานุษยวิทยาเศรษฐกิจ ชุมชนศึกษา                                               วัฒนธรรมประชานิยม

วุฒิการศึกษา               สังคมวิทยาและมานุษยวิทยามหาบัณฑิต (มานุษยวิทยา) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (ปี 2560)

ที่อยู่ติดต่อกลับ            โครงการเมธีวิจัยอาวุโส สกว. ศาสตราจารย์ ดร. เสมอชัย พูลสุวรรณ

                                     คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

                                     เลขที่ 2 ถนนพระจันทร์ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร

                                     กรุงเทพมหานคร 10200

                                     อีเมล [email protected]

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2018-10-03