สตาร์ทอัพไทยแลนด์: กรณีศึกษาสตาร์ทอัพในจังหวัดเชียงใหม่

ผู้แต่ง

  • ชนินทร เพ็ญสูตร

คำสำคัญ:

นโยบายประเทศไทย 4.0, สตาร์ทอัพ, สตาร์ทอัพท้องถิ่น

บทคัดย่อ

ตามที่รัฐบาลได้มีการผลักดันนโยบายประเทศไทย 4.0 อย่าง เป็นทางการตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2559 เป็นต้นมา พบว่าวงการสตาร์ทอัพใน ประเทศไทยได้เกิดการตื่นตัวเพิ่มมากขึ้น ในปัจจุบัน มีสตาร์ทอัพไทยที่ ประสบความสำาเร็จในระดับนานาชาติ สามารถระดมทุนได้ในหลักพันล้าน เหรียญสหรัฐขึ้นไป อย่างไรก็ตาม สตาร์ทอัพที่ประสบความสำาเร็จในระดับ นานาชาติและระดับชาติ ล้วนเป็นสตาร์ทอัพจากกรุงเทพมหานคร จนถึง ปจัจบุนั ไมป่รากฏวา่มสีตารท์อพัจากภมูภิาคสามารถกา้วขนึ้มาเปน็สตารท์อพั ที่ประสบความสำาเร็จในระดับนานาชาติ บทความนี้มุ่งพิจารณาการก่อตัว ของสตารท์อพัในจงัหวดัเชยีงใหม่ ซงึ่ถอืเปน็สตารท์อพัทไี่ดร้บัการสนบัสนนุ จากทางภาครฐัและมหาวทิยาลยัในจงัหวดัเชยีงใหม่ อยา่งไรกต็ามบทความนี้ ชี้ให้เห็นว่าสตาร์ทอัพส่วนใหญ่ในจังหวัดเชียงใหม่มีการใช้นวัตกรรมและ เทคโนโลยีในระดับที่ไม่ซับซ้อนทำาให้มีความเสี่ยงในการเติบโตและความ เป็นไปได้ในการแข่งขันในระยะยาว นอกจากนี้ปัญหาที่สตาร์ทอัพในจังหวัด เชยีงใหมก่าำลงัเผชญิคอืแนวคดิสตารท์อพัมคีวามซำ้าซอ้นและการเขา้มาของ สตาร์ทอัพจากต่างประเทศที่ส่งผลกระทบโดยตรงต่อสตาร์ทอัพจากจังหวัด เชียงใหม่ ทั้งนี้สตาร์ทอัพประเภทที่สมควรมีการพัฒนาในจังหวัดเชียงใหม่ คือสตาร์ทอัพด้านการเกษตรและสตาร์ทอัพด้านการท่องเที่ยว ในปัจจุบัน พบวา่สตารท์อพัดา้นการเกษตรยงัเปน็สตารท์อพัสาขาทข่ีาดแคลนในจงัหวดั เชยีงใหม่ ภาครฐัควรมกีารสนบัสนนุสตารท์อพัเฉพาะทางในจงัหวดัเชยีงใหม่ โดยสนบัสนนุสตารท์อพัทงั้ในระดบัจงัหวดัและรฐับาลทอ้งถนิ่ควรสนบัสนนุ สตาร์ทอัพระดับชุมชนเพื่อให้ชุมชนสามารถพึ่งพิงตนเองทางเศรษฐกิจใน ระยะยาว โดยสตาร์ทอัพชุมชนไม่จำาเป็นต้องมีการใช้เทคโนโลยีที่ซับซ้อน เมื่อเปรียบเทียบกับสตาร์ทอัพในระดับจังหวัดตามที่รัฐบาลได้มีการผลักดันนโยบายประเทศไทย 4.0 อย่าง เป็นทางการตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2559 เป็นต้นมา พบว่าวงการสตาร์ทอัพใน ประเทศไทยได้เกิดการตื่นตัวเพิ่มมากขึ้น ในปัจจุบัน มีสตาร์ทอัพไทยที่ ประสบความสำาเร็จในระดับนานาชาติ สามารถระดมทุนได้ในหลักพันล้าน เหรียญสหรัฐขึ้นไป อย่างไรก็ตาม สตาร์ทอัพที่ประสบความสำาเร็จในระดับ นานาชาติและระดับชาติ ล้วนเป็นสตาร์ทอัพจากกรุงเทพมหานคร จนถึง ปจัจบุนั ไมป่รากฏวา่มสีตารท์อพัจากภมูภิาคสามารถกา้วขนึ้มาเปน็สตารท์อพั ที่ประสบความสำาเร็จในระดับนานาชาติ บทความนี้มุ่งพิจารณาการก่อตัว ของสตารท์อพัในจงัหวดัเชยีงใหม่ ซงึ่ถอืเปน็สตารท์อพัทไี่ดร้บัการสนบัสนนุ จากทางภาครฐัและมหาวทิยาลยัในจงัหวดัเชยีงใหม่ อยา่งไรกต็ามบทความนี้ ชี้ให้เห็นว่าสตาร์ทอัพส่วนใหญ่ในจังหวัดเชียงใหม่มีการใช้นวัตกรรมและ เทคโนโลยีในระดับที่ไม่ซับซ้อนทำาให้มีความเสี่ยงในการเติบโตและความ เป็นไปได้ในการแข่งขันในระยะยาว นอกจากนี้ปัญหาที่สตาร์ทอัพในจังหวัด เชยีงใหมก่าำลงัเผชญิคอืแนวคดิสตารท์อพัมคีวามซำ้าซอ้นและการเขา้มาของ สตาร์ทอัพจากต่างประเทศที่ส่งผลกระทบโดยตรงต่อสตาร์ทอัพจากจังหวัด เชียงใหม่ ทั้งนี้สตาร์ทอัพประเภทที่สมควรมีการพัฒนาในจังหวัดเชียงใหม่ คือสตาร์ทอัพด้านการเกษตรและสตาร์ทอัพด้านการท่องเที่ยว ในปัจจุบัน พบวา่สตารท์อพัดา้นการเกษตรยงัเปน็สตารท์อพัสาขาทข่ีาดแคลนในจงัหวดั เชยีงใหม่ ภาครฐัควรมกีารสนบัสนนุสตารท์อพัเฉพาะทางในจงัหวดัเชยีงใหม่ โดยสนบัสนนุสตารท์อพัทงั้ในระดบัจงัหวดัและรฐับาลทอ้งถนิ่ควรสนบัสนนุ สตาร์ทอัพระดับชุมชนเพื่อให้ชุมชนสามารถพึ่งพิงตนเองทางเศรษฐกิจใน ระยะยาว โดยสตาร์ทอัพชุมชนไม่จำาเป็นต้องมีการใช้เทคโนโลยีที่ซับซ้อน เมื่อเปรียบเทียบกับสตาร์ทอัพในระดับจังหวัด

Author Biography

ชนินทร เพ็ญสูตร

หน่วยงานสังกัด            อาจารย์ ดร. ประจำภาควิชาการเมืองการปกครอง

                                     คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ความสนใจทางวิชาการ   สตาร์ทอัพ, สตาร์ทอัพกับการเมือง     

ที่อยู่ติดต่อกลับ              ภาควิชาการเมืองการปกครอง คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

                                      อีเมล [email protected], [email protected]

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2018-10-03