การจัดการภาคีสาธารณะแนวใหม่กับการพัฒนาสังคมตามหลักการ BCG
คำสำคัญ:
การจัดการภาคีสาธารณะ, การพัฒนาสังคม, เศรษฐกิจชีวภาพ, เศรษฐกิจหมุนเวียน, เศรษฐกิจสีเขียวบทคัดย่อ
บทความวิชาการนี้นำเสนอการจัดการภาคีสาธารณะแนวใหม่กับการพัฒนาสังคมตามหลักการ BCG ซึ่งเป็นยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศไทย ได้แก่ B : Bio economy (เศรษฐกิจชีวภาพ) มุ่งเน้นการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรชีวภาพอย่างคุ้มค่า C : Circular economy (เศรษฐกิจหมุนเวียน) มุ่งเน้นการหมุนเวียนใช้ทรัพยากรให้เกิดประโยชน์สูงสุด G : Green economy (เศรษฐกิจสีเขียว) มุ่งเน้นให้เกิดการพัฒนาที่สมดุลทั้ง 3 ด้าน ด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม เป็นเป้าหมายของการพัฒนาอย่างยั่งยืน 17 ประการ เกี่ยวกับการแก้ปัญหาสภาพภูมิอากาศ การลดความยากจน การว่างงาน ความเสื่อมโทรมของสิ่งแวดล้อม ความหิวโหยและภาวะทุพโภชนาการและต้องการบรรลุในปี ค.ศ. 2030 การพัฒนาสังคมในยุคการเปลี่ยนแปลงจำเป็นต้องมีวิธีปฏิบัติที่แตกต่างไปจากเดิม ต้องการวิเคราะห์ข้อมูลสถานการณ์และทิศทางการเปลี่ยนที่เกิดขึ้น เพื่อที่จะสามารถดำเนินการการแก้ไขปัญหาสังคมเกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรม การจัดการภาคีสาธารณะ (NPG) นับมีบทบาทสำคัญในยุคศตวรรษที่ 21 มุ่งเน้นให้ทุกภาคส่วนงานร่วมกัน ได้แก่ ภาครัฐ ภาคเอกชน ภาควิชาการ (สถาบันการศึกษา) และภาคประชาสังคมได้บูรณาการกิจกรรม แผน งบประมาณร่วมกัน การพัฒนาสังคมบนหลักการ BCG นั้นผู้เขียนขอนำเสนอกลยุทธ์ PODEE ประกอบด้วย 1. P = Partnership การเป็นหุ้นส่วนทางสังคม 2. O = Ownership สิทธิความเป็นเจ้าของ 3. D = Development การพัฒนา 4. E = Energy การใช้พลังงานทดแทน 5. E Equally ความเท่าเทียม
Downloads
References
ไททัศน์ มาลา. (2561). การจัดการปกครองสาธารณะแนวใหม่ (New Public Governance: NPG) : แนวคิดและการประยุกต์ใช้ในการจัดการปกครองท้องถิ่น.วารสารวไลยอลงกรณ์ปริทัศน์ (มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์). 8 (1), 179-194.
สมศักดิ์ สามัคคีธรรม. (2564). ธรรมมาภิบาลและความรับผิดชอบทางสังคม. กรุงเทพฯ : สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ. (2561). เศรษฐกิจชีวภาพ. กรุงเทพฯ : สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โสภารัตน์ จารุสมบัติ. (2562). เส้นทางเศรษฐกิจสีเขียว. กรุงเทพฯ : คณะเศรษฐศาสตร์
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
อุทิศ ทาหอม. (2561). การพัฒนาแบบยั่งยืน. บุรีรัมย์ : คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราช
ภัฏบุรีรัมย์.
อุทิศ ทาหอม. (2564). การพัฒนาชุมชนท้องถิ่นบนฐานวัฒนธรรม เพื่อลดความเหลื่อมล้ำทางสังคม. วารสาร
สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์.16 (2),55-73.
Barbier, E. B., & Markandya, A. (2013). A new blueprint for a green economy. Routledge.
Brears, R. C. (2018). The green economy and the water-energy-food nexus. In The green economy and the water-energy-food nexus (pp. 23-50). Palgrave Macmillan, London.
Berndtsson, M. (2015 : 17). Circular economy and sustainable development. Master thesis in. Sustainable Development at Uppsala University.
Bovaird, T., & Löffler, E. (2015). Understanding public management and governance. In Public management and governance (pp. 29-39). Routledge.
Cunha-E-Sa, M. A., & Reis, A. B. (2007). The optimal timing of adoption of a green technology. In Sustainable Resource Use and Economic Dynamics (pp. 35-52). Springer, Dordrecht.
D'Amato, D., Droste, N., Allen, B., Kettunen, M., Lähtinen, K., Korhonen, J.,& Toppinen, A. (2017). Green, circular, bio economy: A comparative analysis of sustainability avenues. Journal of cleaner production. 168, 716-734.
Franco, E. G. (17th Edition). The global risks report 2022. In World Economic Forum.
Gibson, M. (2012 : 19-20). Food security—a commentary: what is it and why is it so complicated?. Foods, 1(1), 18-27.
Geissdoerfer, M., Savaget, P., Bocken, N. M., & Hultink, E. J. (2017). The Circular Economy–A new sustainability paradigm?. Journal of cleaner production. 143, 757-768.
Giampietro, M. (2019). On the circular bioeconomy and decoupling: implications for sustainable growth. Ecological economics. 162, 143-156.
Havas, K., & Salman, M. (2011: 6). Food security: its components and challenges.
International Journal of food safety, nutrition and public health. 4(1), 4-11.
Hysa, E., Kruja, A., Rehman, N. U., & Laurenti, R. (2020). Circular economy innovation and environmental sustainability impact on economic growth: An integrated model for sustainable development. Sustainability. 12(12), 4831.
Löffler, E. (2003). Governance and government: Networking with external stakeholders. Public management and governance. 163-174.
Osborne, S. P. (2010). Introduction The (New) Public Governance: a suitable case for treatment?. In The new public governance? (pp. 17-32). Routledge.
Stegmann, P., Londo, M., & Junginger, M. (2020). The circular bioeconomy: Its elements and role in European bio economy clusters. Resources, Conservation & Recycling: X, 6, 100029.
Seesung, W. (2021). Media Exposure and Knowledge of the" BCG Model" Economic Development Policy of the Thai People. Jurnal Komunikasi Pembangunan. 19(02).
Sertyesilisik, B., & Sertyesilisik, E. (2017). Ways of fostering green economy and green growth. In Sustainable Economic Development (pp. 49-65). Springer, Cham.
Vasudha, C., & Stoker, G. (2009). Governance Theory and Practice: A Cross-Disciplinary Approach. Journal of Public Administration. 87 (4), 982-983.
Waheduzzaman, W. (2019). Challenges in transitioning from new public management to new public governance in a developing country context. International Journal of Public Sector Management.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2022 Utis Tahom
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.