การเสริมสร้างความเข้มแข็งนโยบายสวัสดิการสังคม: มุมมองแบบพหุลักษณ์ในการลดความเหลื่อมล้ำทางสังคมของคนจน
คำสำคัญ:
นโยบายสวัสดิการสังคม, ความเหลื่อมล้ำทางสังคม, สวัสดิการชุมชน, การเสริมพลังชุมชน, คนจนบทคัดย่อ
นโยบายสวัสดิการสังคมเป็นเครื่องมือสำคัญในการลดความเหลื่อมล้ำในสังคม แต่ในสังคมไทยยังคงปรากฏความเหลื่อมล้ำขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะกับกลุ่มคนจน บทความนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อวิเคราะห์รูปแบบและข้อจำกัดของนโยบายสวัสดิการสังคมในกระแสหลักและเพื่อสังเคราะห์แนวทางในการเสริมสร้างนโยบายสวัสดิการสังคมทางเลือกที่เข้มแข็งสำหรับคนจน ข้อค้นพบเกี่ยวกับรูปแบบและข้อจำกัดของนโยบายสวัสดิการสังคมนั้น ประกอบไปด้วย 1) โครงสร้างการกำหนดนโยบายแบบ “บนลงสู่ล่าง” ทำให้นโยบายสวัสดิการสังคมมีรัฐเป็นเจ้าของ 2) มีข้อจำกัดด้านงบประมาณและมาตรการระบบภาษี 3) ฐานข้อมูลและระบบการลงทะเบียนยังไม่มีประสิทธิภาพ 4) นโยบายสวัสดิการสังคมยังขาดการบูรณาการความรู้และการวิจัย และ 5) มีข้อจำกัดทางกฎหมายในการดำเนินนโยบาย จากการสังเคราะห์งานวิจัย พบว่า มีข้อเสนอให้เสริมสร้างนโยบายสวัสดิการสังคมรูปแบบพหุลักษณ์ที่เข้มแข็ง ซึ่งควรประกอบด้วย การดำเนินนโยบายที่คู่ขนานกันทั้งในส่วนของนโยบายสวัสดิการสังคมกระแสหลัก ประกอบด้วย 1) ผู้กำหนดนโยบายควรออกแบบนโยบายสังคมอย่างบูรณาการศาสตร์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง 2) กระจายอำนาจการเมืองและการคลังให้หน่วยงานองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและภาคประชาชน 3) ปฏิรูปกฎหมายและงบประมาณ และ 4) พัฒนาระบบฐานข้อมูลให้มีประสิทธิภาพและส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม ร่วมกับการดำเนินนโยบายสวัสดิการสังคมทางเลือกที่ส่งเสริมการจัดสวัสดิการชุมชนให้มีความเข้มแข็งและยั่งยืนด้วยหลักการเสริมสร้างพลังอำนาจชุมชน
Downloads
References
กฤษฎา ศุภกิจไพศาล. (2563). การพัฒนาการจัดสวัสดิการสังคมที่มีความเป็นธรรมเพื่อแก้ไขปัญหาความเหลื่อมล้ำ. ในการประชุมวิชาการระดับชาติ “สังคมสงเคราะห์และสวัสดิการสังคม: การปลดล็อกความเหลื่อมล้ำสู่ความยั่งยืน”. 83-99. https://socadmin.tu.ac.th/uploads/socadmin/file_research/research_Split/6.pdf
กิติพัฒน์ นนทปัทมะดุลย์. (2544). นโยบายสังคมและสวัสดิการสังคม (พิมพ์ครั้งที่ 3). มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
กิติพัฒน์ นนทปัทมะดุลย์. (2550). สวัสดิการสังคมเพื่อคนด้อยโอกาส: นโยบายว่าด้วยการกินดี อยู่ดี มีสุข มีสิทธิ. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
กิติพัฒน์ นนทปัทมะดุลย์. (2563). สวัสดิการที่เน้นผลิตภาพและสวัสดิการที่เน้นการคุ้มครองกับการลดความเหลื่อมล้ำ. ในการประชุมวิชาการ “สังคมสงเคราะห์และสวัสดิการสังคม: การปลดล็อกความเหลื่อมล้ำสู่ความยั่งยืน” คณะสังคมสงเคราะห์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. https://socadmin.tu.ac.th/uploads/socadmin/file_document/Proceeding66year.pdf
ฐากูร จิตตานุรักษ์. (2559). การกำกับดูแลและความเป็นอิสระองค์การปกครองส่วนท้องถิ่นไทย. ศูนย์บัณฑิตศึกษา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. https://bit.ly/339LT2o
ณรงค์ เพ็ชรประเสริฐ, ขัตติยา กรรณสูต, กนกศักดิ์ แก้วเทพ, กิติพัฒน์ นนทปัทมะดุลย์, จตุรงค์ บุณยรัตนสุนทร, อภิญญา เวชยชัย. (2544). การศึกษาความเป็นไปได้ในการจัดสวัสดิการโดยภาคชุมชน รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ โครงการการพัฒนาระบบสวัสดิการสำหรับคนจนและคนด้อยโอกาสในสังคมไทย. สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.
ณรงค์ เพ็ชรประเสริฐ. (2546). บทสังเคราะห์ภาพรวมการพัฒนาระบบสวัสดิการสำหรับคนจนและคนด้อยโอกาสในสังคมไทย : รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
นฤมล นิราทร. (2563). องค์กรของผู้ค้าแผงลอย: เส้นทางสู่การคุ้มครองทางสังคมแนวเปลี่ยนรูป. ในการประชุมวิชาการ “สังคมสงเคราะห์และสวัสดิการสังคม: การปลดล็อกความเหลื่อมล้ำสู่ความยั่งยืน” คณะสังคมสงเคราะห์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. https://socadmin.tu.ac.th/uploads/socadmin/file_document/Proceeding66year.pdf
บุญเลิศ วิเศษปรีชา และคณะ. (2563). ผลกระทบโควิด-19 ต่อชีวิตของกลุ่มคนไร้บ้านและคนจนเมือง. สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.). https://www.tsri.or.th/dl/312/TSRI-Factsheet
ป๋วย อึ้งภากรณ์. (2512). สุนทรพจน์ของนายป๋วย อึ๊งภากรณ์ ผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย ในงานเลี้ยงอาหารค่ำประจำปี 2512 ของสมาคมธนาคารไทย (ต้นฉบับ). หอสมุดแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
https://digital.library.tu.ac.th/tu_dc/frontend/Info/item/dc:127366
พระราชบัญญัติส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคม พ.ศ.2546 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2550. (2550, 28 ธันวาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 124 ตอนที่ 100 ก. หน้า 12-20.
ภุชงค์ เสนานุช และ ธนาชัย สุนทรอนันตชัย. (2561). การพัฒนาระบบสวัสดิการสังคมสำหรับผู้สูงอายุที่เป็นแรงงานนอกระบบเพื่อลดความเหลื่อมล้ำทางสังคม. วารสารสังคมสงเคราะห์ศาสตร์, 26(1), 146-164.
มธุลีห์ โยคี และ ประพนธ์ สหพัฒนา. (2564). ความสำเร็จและความล้มเหลวของนโยบาย “โครงการพัฒนาที่อยู่ อาศัยชุมชนริมคลอง”. วารสารชุมชนวิจัยมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา, 15(4), 13-27.
มาดี ลิ่มสกุล. (2558). กฎหมายกลางว่าด้วยการจัดสวัสดิการสังคมของประเทศไทย. วารสารสังคมสงเคราะห์ศาสตร์, 23(1), 28-54.
ระพีพรรณ คำหอม, เล็ก สมบัติ, วนิดา ดุรงค์ฤทธิชัย, อำไพรัตน์ อักษรพรหม, ภุชงค์ เสนานุช, สมศักดิ์ อมรสิริพงศ์, ระริน สุรวัฒนานันท์, กมลทิพย์ ขลังธรรมเนียม, นพนัฐ จำปาเทศ, รัฐศิรินทร์ วังกานนท์, กฤษณา รุ่งโรจน์วณิชย์, และ ธนาชัย สุนทรอนันตชัย. (2560). รายงานการวิจัยเพื่อท้องถิ่น โครงการพัฒนาระบบสวัสดิการสังคมสำหรับผู้สูงอายุเพื่อลดความเหลื่อมล้ำทางสังคม. สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.
ระพีพรรณ คำหอม และคณะ. (2563). การพัฒนานวัตกรรมเพื่อผู้สูงอายุกับทางเลือกการลดความเหลื่อมล้ำของผู้สูงอายุไทย. ในการประชุมวิชาการ “สังคมสงเคราะห์และสวัสดิการสังคม: การปลดล็อกความเหลื่อมล้ำสู่ความยั่งยืน” คณะสังคมสงเคราะห์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. https://socadmin.tu.ac.th/uploads/socadmin/file_research/research_Split/4.pdf
ระพีพรรณ คำหอม. (2557). สวัสดิการสังคมกับสังคมไทย (พิมพ์ครั้งที่ 4). มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
วันทนีย์ วาสิกะสิน สุรางรัตน์ วศินารมณ์ และกิติพัฒน์ นนทปัทมะดุลย์. (2553). ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสวัสดิการสังคมและสังคมสงเคราะห์ (พิมพ์ครั้งที่ 7). มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
วันทนีย์ วาสิกะสิน สุรางรัตน์ วศินารมณ์ และกิติพัฒน์ นนทปัทมะดุลย์. (2553). ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสวัสดิการสังคมและสังคมสงเคราะห์. (พิมพ์ครั้งที่ 7). กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน. (2552). คู่มือการดำเนินงานโครงการสนับสนุนการจัดสวัสดิการชุมชน.กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์แอ๊ปป้า พริ้นติ้ง กรุ๊ป จำกัด.
สมชัย จิตสุชน. (2558). รายงานการวิจัยความเหลื่อมล้ำในสังคมไทย: แนวโน้ม นโยบายและแนวทางขับเคลื่อนนโยบาย. สถาบันวิจัยเพื่่อการพัฒนาประเทศไทย. https://tdri.or.th/wp-content/uploads/2017/06/Synthesis-Report-Year-2-Inclusive-Growth.pdf
สมศักดิ์ สามัคคีธรรม และสุพรรณี ไชยอำพร. (2560). สวัสดิการชุมชนกับการสร้างสังคมเข้มแข็งในเขตกรุงเทพมหานคร. วารสารร่มพฤกษ์ มหาวิทยาลัยเกริก. 35(1). 139-161. https://so05.tci-thaijo.org/index.php/romphruekj/article/view/93533/73246.
สมศักดิ์ สามัคคีธรรม. (2564). แนวคิดของเกลนแลฟเวอแลคว่าด้วย" การเสริมพลังชุมชน". วารสารสังคมสงเคราห์ศาสตร์, 29(1), 1-30. https://so04.tci-thaijo.org/index.php/swjournal/article/view/252435
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ. (2564). โควิด-19 วิกฤติซ้อนวิกฤติสังคมไทย เร่งเกิดสวัสดิการสังคมรองรับ. “20 ปี ภาคีสร้างสุข: นวัตกรรมความสุขที่ยั่งยืน”. https://www.bangkokbiznews.com/social/971627
สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2563). รายงานการวิเคราะห์สถานการณ์ความยากจนและความเหลื่อมล้ำในประเทศไทย ปี 2563. กองพัฒนาข้อมูลและตัวชี้วัดสังคม.
สำนักงานสภาพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2564). (ร่าง) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 พลิกโฉมประเทศไทยสู่ เศรษฐกิจสร้างคุณค่า สังคมเดินหน้าอย่างยั่งยืน. https://www.nesdc.go.th/download/document/Yearend/2021/plan13.pdf
สำนักสารสนเทศและประเมินผลลัพธ์สุขภาพ กลุ่มภารกิจยุทธศาสตร์และการประเมินผล สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ. (2564). ผลการดำเนินงานการสร้างระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ 6 เดือน (1 ตุลาคม 2563 – 31 มีนาคม 2564) ปีงบประมาณ 2564. สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ.https://www.nhso.go.th/storage/downloads/operatingresult/48
สำนักพัฒนาฐานข้อมูลและตัวชี้วัดภาวะสังคม. (2562). ข้อมูลจากการสำรวจภาวะเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือน. สำนักงานสถิติแห่งชาติ. https://social.nesdc.go.th/SocialStat/StatReport_Final.aspx?reportid=854&template=2R1C&yeartype=M&subcatid=59
สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ. (2564). 3 ทศวรรษ สวทช. กัับการขัับเคลื่่อนประเทศด้้วยวิิทยาศาสตร์์และเทคโนโลยีี : ดิจิทัล. พิิมพ์์ครั้งที่่ 1. ปทุุมธานีี : บริิษััท แปลน พริ้นท์์ติ้ง จำกัด.
อภิญญา เวชยชัย และ กิติพัฒน์ นนทปัทมะดุลย์. (2546). การพัฒนาระบบสวัสดิการสำหรับคนจนและคนด้อยโอกาส: กลุ่มคนจนและผู้ด้อยโอกาสและกลุ่มเสี่ยงที่ประสบปัญหาทางสังคม ภายใต้ ชุดโครงการการพัฒนาระบบสวัสดิการสำหรับคนจนและคนด้อยโอกาสในสังคมไทย. สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.
อาแว มะแส. (2555). การจัดสวัสดิการชุมชนผ่านกลุ่มออมทรัพย์: ทางเลือกในการลดความเหลื่มล้ำทางสังคมในชนบทไทย. วารสารพัฒนาสังคม, 14(2).
อำไพรัตน์ อักษรพรหม และ กฤษณา รุ่งโรจน์วนิชย์. (2560). การพัฒนาระบบสวัสดิการสังคมสำหรับครอบครัวที่มีผู้สูงอายุเพื่อลดความเหลื่อมลาทางสังคม. สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ฝ่ายวิจัยเพื่อท้องถิ่น.
Giddens, A. (2000). The third way and its critics. Polity Press.
Gough, I. (2007). Wellbeing and welfare regimes in four countries. In: WeD International Conference 2007 - Wellbeing in International Development, 2007-06-28 - 2007-06-30, Bath, United Kingdom.
Laverack, G. (2007a). Health Promotion Practice: Building Empowered Communities. Open University Press.
Morris, R. (1985). Social policy of the American welfare state: An Introduction to Policy Analysis. Addison-Wesley Longman Limited.
Neuhaus, R. (1979). Social Security, how it Works in the Federal Republic of Germany. Friedrich-Ebert-Stiftung.
Nontapattamadul, K. (2014). Social work in Thailand: A struggle through various constructions of meanings. In C. Aspalter (Ed.), Social Work in East Asia (pp. 93-104). Ashgate Publishing.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2022 Krisanachot Bualar
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.