การเข้าถึงสวัสดิการทางสังคมของแรงงานข้ามชาติชาวเมียนมาที่ถูกกฎหมายภายใต้สภาวะ “ความเป็นอื่น” ที่คงอยู่ในช่วงการระบาดของโควิด-19

ผู้แต่ง

  • จิราภรณ์ ไพรเถื่อน คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
  • บุศรินทร์ เลิศชวลิตสกุล คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร

คำสำคัญ:

แรงงานข้ามชาติเมียนมา, โควิด-19, การเข้าถึงสวัสดิการสังคม, ความเป็นพลเมือง, ความเป็นอื่น

บทคัดย่อ

บทความนี้ศึกษาปัญหาและอุปสรรคในการเข้าถึงสวัสดิการทางสังคมของแรงงานข้ามชาติชาวเมียนมาที่ถูกกฎหมายภายใต้การสร้าง “ความเป็นอื่น” ของรัฐไทยในสถานการณ์การระบาดของไวรัสโควิด-19 ช่วงการระบาดในระลอกแรกของประเทศไทยหรือตั้งแต่เดือนมีนาคมถึงเดือนพฤศจิกายน 2563 ด้วยวิธีการสัมภาษณ์เชิงลึกแรงงานในเขตเทศบาลเมืองเชียงราย 8 คน ในช่วงตั้งแต่เดือนเมษายนถึงเดือนสิงหาคม 2564 ข้อค้นพบเสนอว่าแรงงานข้ามชาติประสบปัญหาวิธีการบอกเลิกจ้างที่ทำให้พวกเขาไม่สามารถเข้าถึงเงินชดเชยเมื่อถูกบอกเลิกจ้างอันเนื่องมาจากโควิด-19 และปัญหาในการดำเนินการตามกระบวนทางกฎหมายที่พวกเขาต้องรับผิดชอบค่าใช้จ่ายเอง และเมื่อต้องการความช่วยเหลือหรือการเยียวยาจากรัฐ พวกเขาถูกสร้างความเป็นอื่นด้วยอคติทางชาติพันธุ์ที่เชื่อมโยงกับความแตกต่างทางสังคมและการเลือกปฏิบัติบนพื้นฐานของสัญชาติและสถานะทางพลเมืองมาอย่างยาวนาน วิกฤตโควิด-19 ที่เกิดขึ้นจึงสะท้อนถึงสายตาของรัฐไทยที่มองข้ามกลุ่มแรงงานข้ามชาติ แม้พวกเขาจะอยู่และทำงานในเมืองไทยอย่างถูกกฎหมายก็ตาม

References

กมลาศ สาลี สุกัณศีล. (2557). แรงงานข้ามชาติกับการเข้าถึงสวัสดิการทางสังคมในประเทศ

ไทย: กรณีศึกษาแรงงานข้ามชาติในเขตเทศบาลนครเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ (รายงานการวิจัย). มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่.

กมเลศ โพธิกนิษฐ, พัชรินทร์ สิรสุนทร, และวัชรพล พุทธรักษา. (2560). แรงงานข้ามชาติกับการทำให้เป็น “สัตว์-เศรษฐกิจ”ภายใต้ภาวะการถูกกดทับ: กรณีศึกษาแรงงานข้ามชาติในประเทศไทย.วารสารสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 13(2), 100-116.

กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน. (2554, 2 มิถุนายน). สวัสดิการแรงงาน. https://bit.ly/48fDKcC

กอแก้ว วงศ์พันธุ์. (2550ก, 2 กันยายน). รายงาน: แรงงานพม่าในไทย (1): คนไร้รัฐ. ประชาไท. https://bit.ly/46b7PrY

กอแก้ว วงศ์พันธุ์. (2550ข, 2 กันยายน). รายงาน: แรงงานพม่ากับอคติทางชาติพันธุ์(จบ): เหยื่อของประวัติศาสตร์ชาติไทย. ประชาไท. https://bit.ly/45RRlFC

ข่าวสด. (2564, 19 สิงหาคม). เอ็นจีโอ เผยโควิดกระทบแรงงาน-เด็กข้ามชาติ แนะรัฐดูแลด้านสาธารณสุขเร่งวัคซีน. https://dol.thaihealth.or.th/Media/Pdfview/4f14d687-4501-ec11-80f4-00155d90fb07

คณะกรรมาธิการขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศด้านสังคม สภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ. (2559). การจดทะเบียนแรงงานข้ามชาติ ณ จุดผ่านแดนถาวรเพื่อจัดระเบียบแรงงานข้ามชาติเข้าสู่ระบบ (รายงาน). https://bit.ly/487Kn0V

ชัยยศ ยงค์เจริญชัย. (2563, 25 เมษายน). โควิด-19: แรงงานข้ามชาติถูกกฎหมายกับความ

ยากลำบากในการเข้าถึงสวัสดิการรัฐ. บีบีซี ไทย. https://bit.ly/48evERz

ถวัลย์ รุยาพร, ตรีเนตร สาระพงษ์, และวรยุทธ พูลสุข. (2565). ปัญหาทางกฎหมายในการคุ้มครองแรงงานในภาวะโรคระบาดไวรัสโคโรน่า 2019. วารสารบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์, 16(3), 105-122.

เทศบาลนครเชียงราย. (ม.ป.ป.). ข้อมูลทั่วไป สำนักงานเทศบาลนครเชียงราย. https://www.chiangraicity.go.th/

บุญเลิศ วิเศษปรีชา. (2546). วิถีชีวิตคนไร้บ้าน: หลากหลาย ณ ชายขอบของเมือง. วารสารปาริชาต, 15(2), 43-73.

ปฐมพงศ์ มโนหาญ. (2561). โครงการการเปลี่ยนแปลงขององค์กรธุรกิจเอกชนข้ามชาติในกระแสความเปลี่ยนแปลงของพื้นที่ชายแดน: ปรากฏการณ์เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษเชียงราย (รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์). สํานักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม.

ประชา ธรรมดา. (2552, 27 พฤศจิกายน). วาทกรรม “แรงงานต่างด้าว” และการกดขี่ “แรงงานข้ามชาติ” โดยรัฐบาลอภิสิทธิ์. ประชาไท. https://bit.ly/3LiE9RS

ปรีดา รอดนวล. (2551). ชีวิตแรงงานข้ามชาติจากพม่าในชุมชนโคกขาม อำเภอเมือง จ.สมุทรสาคร. วารสารสำนักบัณทิตอาสาสมัคร, 5(1), 59-75.

พระราชกำหนดการบริหารจัดการทำงานของคนต่างด้าว พ.ศ. 2560. (2560, 22 มิถุนายน). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 134 ตอนที่ 65 ก. หน้า 13-15.

พระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 (ฉบับปรับปรุง 2562). (2562, 5 เมษายน). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 136 ตอนที่ 43 ก. หน้า 21-29.พระราชบัญญัติ ส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคม พ.ศ. 2546.

พฤกษ์ เถาถวิล. (2553, 23 ธันวาคม). การเปลี่ยน (ไม่) ผ่านของการจัดการแรงงานข้ามชาติ (1). ประชาไท. https://bit.ly/3EB6Jdp

พัชรี กล่อมเมือง. (2562). คนชายขอบ: ชาวไทยเชื้อสายมลายูในสามจังหวัดชายแดนภายใต้. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี, 8(2), 1-10.

พิทักษ์ ไปเร็ว และพิทักษ์ ศิริวงศ์. (2556). วาทกรรมการสร้างความเป็นอื่นของแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยฐานะพลเมืองของโลก. วารสารวิชาการบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร, 6(3), 617- 635.

ภาคีสังคมแรงงานสู้วิกฤตโควิด-19. (2563, 8 พฤษภาคม). เสวนา แรงงานข้ามชาติคุณค่าที่ถูกลืมในสมรภูมิโควิด-19 [Video]. Youtube. https://bit.ly/45OZPNM

มติชนออนไลน์. (2563, 22 ธันวาคม). มองกลับหลัง ‘แรงงานข้ามชาติ’ ในวันโควิดระบาด

(อีกระลอก?). https://bit.ly/3rkSR3U

วรปภา มหาสำราญ. (2563). การจ่ายค่าชดเชยพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2562.

วารสารวิทยาการจัดการปริทัศน์, 22(1), 203-210.

วราภรณ์ มนต์ไตรเวศย์. (2550). แรงงานต่างด้าวในภาคประมงกับความรุนแรงเชิงวัฒนธรรม. วารสารรวมบทความทางวิชาการ คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร, 12(2), 281-305.

สร้อยมาศ รุ่งมณี, วาสนา ละอองปลิว, และบุศรินทร์ เลิศชวลิตสกุล. (2565). บทที่ 5:

ครอบครัวแรงงานข้ามชาติในเชียงราย: แหว่งกลางข้ามพรมแดนและความเปราะบางของการเข้าถึงสิทธิ. ใน พลวัตครอบครัวในสังคมไทยในสถานการณ์โควิด–19: การปรับตัวของครัวเรือนเปราะบางและข้อเสนอเชิงนโยบายด้านเด็กและครอบครัว (รายงานการวิจัย). สสส. & 101PUB.

สมัคร์ กอเซ็ม. (2559). ความเป็นชายขอบกับการรับรู้ชายแดน: วิธีวิทยาว่าด้วยพรมแดนศาสนาและชาติพันธุ์ของมุสลิมในค่ายผู้ลี้ภัย. วารสารสังคมวิทยามานุษยวิทยา, 35(1), 123-145.

สุริยา สมุทคุปติ์, และพัฒนา กิติอาษา. (2542). มานุษยวิทยากับโลกาภิวัตน์: รวมบทความ. ห้องไทยศึกษานิทัศน์ สำนักวิชาเทคโนโลยีสังคม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี.

สำนักงานประกันสังคม. (2563). หลักเกณฑ์และเงื่อนไข กรณีว่างงาน. https://www.sso.go.th/wpr/main/service

สำนักงานแรงงานจังหวัดเชียงราย. (2566, 16 พฤศจิกายน). รายงานสถานการณ์แรงงานและดัชนีชี้วัดภาวะแรงงานจังหวัดเชียงราย รายเดือนตุลาคม 2566. Infographic-ตุลาคม-2566.pdf (mol.go.th)

อดิศร เกิดมงคล. (2550, 19 ตุลาคม). รายงาน: แรงงานข้ามชาติในสังคมไทย (2) : อคติทางชาติพันธุ์ มายาภาพที่แรงงานข้ามชาติถูกตีตรา. ประชาไท.https://prachatai.com/journal/2007/10/14575

อมรวรรณ ศรีชูเปี่ยม. (2550). รัฐไทยกับการนำนโยบายแรงงานต่างด้าวไปปฏิบัติ: ศึกษากรณีแรงงานประมง จังหวัดสมุทรสาคร [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต]. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ออมสิน บุญเลิศ. (2552). วาทกรรมว่าด้วย “คนต่างด้าว” กับการกลายเป็น “คนอื่น” ของชาวไทใหญ่พลัดถิ่น. วารสารสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 21(2), 103-138.

iLaw. (2563, 3 เมษายน). ถูกไล่ออก เพราะโควิด-19 ลูกจ้างยังมีสิทธิ ต้องได้รับค่าชดเชย.https://ilaw.or.th/node/5591

ThaiNGO. (2563, 22 ธันวาคม). เครือข่ายองค์กรด้านประชากรข้ามชาติ ชี้นโยบายรัฐคุมโควิด-19 กระทบแรงงานข้ามชาติอย่างรุนแรง. https://bit.ly/3r91P4p

WorkpointToday. (2564, 14 ธันวาคม). “เสียงที่รัฐไทยไม่ได้ยิน” : เจาะปัญหาการเยียวยาแรงงานข้ามชาติของรัฐไทยในสถานการณ์ COVID-19. https://workpointtoday.com/ctip-01/

Badio, A. (2017). From False Globalisation to the One Communist World, via the Question of ‘Foreigners’. Urban Economic. https://www.urbanomic.com/document/badiou-false-globalisation-one-communist-world/

Hall, S. (1997). The spectacle of the other. In S. Hall (Ed.), Representation: Cultural

representations and signifying practices (pp.223-290). Sage Publication.

Lidchi, H. (1997). The politics and poetics of exhibiting other cultures. In S. Hall (Ed.),

Representation: Cultural representations and signifying practices (pp.75-150). Sage Publication.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-12-28