บทบรรณาธิการ

ผู้แต่ง

  • นภาพร อติวานิชยพงศ์

บทคัดย่อ

บทบรรณาธิการ
วารสารสํานักบัณฑิตอาสาสมัครฉบับนี้ เปนฉบับตอนรับปใหม2548 และเปน
ฉบับที่ 2 หลังจากที่สํ านักบัณฑิตอาสาสมัคร ไดเปดตัววารสาร ฉบับปฐมฤกษเมื่ อกลางปที่ แลว
สําหรับบทความตาง ๆ ที่พิมพเผยแพรในวารสาร ทางกองบรรณาธิการจะยินดีอยางยิ่ งหากไดรับ
ทราบปฏิกิริ ยาจากทานผูอ าน โดยเฉพาะอยางยิ่ง ถาหากจะมีการเขียนบทความเชิงวิจารณหรือ
แสดงขอคิดเห็นตอเนื้ อหาของขอเขียนแตละเรื่ องที่ ปรากฏในวารสารทั้ งฉบับปจจุบั นและฉบับกอน
หนานี้ และหากผูอ านทานใด มีความประสงคจะใหสํ านักบัณฑิตอาสาสมัคร จัดสงวารสารใหอยาง
สม่ํ าเสมอ ขอไดโปรดสมัครเปนสมาชิกโดยกรอกขอความในแบบฟอรมทายเลม และบริจาคเงิน
สนับสนุนคาใชจ ายในจํานวนเพียงเล็กนอย เพื่ อเปนกําลังใจตอคณะผูจั ดทําและสํานักบัณฑิต
อาสาสมัคร
เนื้ อหาของวารสารฉบับนี้ เกี่ ยวของโดยตรงกับ บทบาทและภารกิจของสํานัก
บัณฑิตอาสาสมัคร ประกอบดวยบทความหลัก 4 เรื่ อง คือ อาสาสมัคร: การพัฒนาตนเอง และ
สังคม โดย ศุภรัตน รัตนมุขย ฟนฟูวั ฒนธรรมการเรียนรูสู ชนบทเขมแข็ง โดย อรศรี งามวิทยา
พงศ การเสริมจิตสํานึกอาสาสมัคร ศึกษาเฉพาะกรณีหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต (บัณฑิต
อาสาสมัคร) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร โดย จารุวิ ตต บุนนาค และรายงานการสัมมนา“รวมกัน
ถักทอ คนรุ นใหม เพื่ อสรางสรรคสั งคม” โดย นภาพร อติวานิชยพงศ
นอกจากบทความทั้ง 4 เรื่ อง แลว ในฉบับนี้มี บทความพิเศษที่ถื อเปนการแนะนํา
วิทยานิพนธดี เดน ของสํานักบัณฑิตอาสาสมัคร2 เรื่ อง คือ วิถีชีวิตชุมชนกับการเปลี่ ยนแปลง
ระบบนิเวศลําน้ํา : กรณีศึ กษาคลองผีหลอก ที่ราบลุ มแมกลองตอนลาง โดย นันทนา พิภพลาภ
อนันต และ เรื่ องเลาจากวิทยานิพนธ การหลอมรวมอุดมการณ“เฟมินิ สต” “ประชาธิปไตย”
และสิทธิมนุษยชน: ศึกษาผานประสบการณสุนี ไชยรส โดย สุนี ไชยรส
บทความ4 เรื่ องแรกเปนการนําเสนอขอคิดเห็นเกี่ ยวกับความหมายและการสราง
จิตสํานึกอาสาสมัครในมติต างๆ กัน ในสถานะการณปจจุบั นที่ดู เหมือนที่ โลกถูกครอบงําดวยลัทธิ
ปจเจกชนนิยม และการแสวงหาผลประโยชนส วนตัว ตามแนวทางเสรีนิ ยมใหม(New -
liberalism) การกลับมาพูดถึงงานอาสาสมัคร การพัฒนาจิตสํานึกทางสังคมและฟ นฟูจิ ตสํานึกที่
บุคคลมีต อชุมชน สังคมและธรรมชาติ ตลอดจนแสวงหาวิถี ทางในการทอดสะพานไปหา
“คนรุ นใหม” เพื่ อเชิญชวนพวกเขาใหกลับมาคิดถึงชุมชนและสังคม นับเปนการทวนกระแสความ
เปนไปของโลกในยุคปจเจกชนนิยมและบริโภคนิยม
หากพิจารณาเฉพาะในบริบทของสังคมไทย การสงเสริมใหเกิดจิตสํานึก
อาสาสมัครและการพัฒนาความเขมแข็งของประชาสังคม นับเปนเรื่ องที่ กระทําไดยากใน
สถานการณทางการเมืองปจจุบั นที่ การทํางานอาสาสมัครเพื่ อสังคมของคนกลุ มหนึ่ งถูกประทับตรา
จากนายกรัฐมนตรีว าเปนการทํางานของพวก“นายหนาคาความจน” และประชาชนกําลังถูกสอน
ใหเคยชินกับการรับความชวยเหลือแบบ“เอื้ ออาทร” มากกวาการสรางความเขมแข็งใหกั บกลุ มและ
ชุมชนเพื่ อการยืนอยู ไดด วยตนเองและมีอํ านาจการตอรองกับรัฐ
นอกจากนี้ ภายหลังเหตุการณความรุนแรงที่มั สยิดกรือแซะ จังหวัดปตตานี เมื่อ
วันที่ 28 เมษายน2547 และโศกนาฎกรรม ที่อําเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส เมื่ อวันที่ 25
ตุลาคม2547 สถานการณของการสรางสะพานเพื่ อสรางความสัมพันธระหวางคนตางกลุ มกลับ
เปนดังที่ พระไพศาล วิสาโล ไดกลาวไวในการสัมมนา“รวมกันถักทอ คนรุ นใหมเพื่ อสรางสรรค
สังคม” นั่นคือ การที่ ชาวพุทธกลุ มใหญ ไมเขาใจคนมุสลิมในภาคใต เชน เดียวกับที่ คนเมืองใน
กรุงเทพฯไมเขาใจคนชนบทในภาคอีสาน และผู ใหญที่ เคยเปนคนรุ นใหมในอดีตไมเขาใจคนรุน
ใหมในปจจุบัน การสรางสะพานเพื่ อเชื่ อมตอคนกลุ มตาง ๆในสังคม จึงเปนภารกิจที่ต องกระทํา
รวมกันในปจจุบั นของผูที่มีจิ ตสํานึกอาสาสมัครเพื่ อสังคม
บทความพิเศษ ซึ่งเปนการแนะนําวิทยานิพนธดี เดนของสํานักบัณฑิตอาสาสมัคร
เปนผลงานของมหาบัณฑิตรุ นแรก สาขาชนบทศึกษาและการพัฒนา และสาขาสตรีศึ กษา ซึ่งเปน
หลักสูตรใหมที่ เพิ่ งเปดสอน โดยกอนหนาป พ.ศ.2542 สํานักบัณฑิตอาสาสมัคร มหาวิทยาลัย
ธรรมศาสตร มีการจัดการเรียนการสอนเพียงหลักสูตรเดียวคือ หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต
(บัณฑิตอาสาสมัคร) ตอมาสํานักบัณฑิตอาสาสมัคร ไดเปดหลักสูตรการเรียนการสอนในระดับ
มหาบัณฑิตศึกษาเพิ่ มอีก 2 หลักสูตร คือ หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ชนบทศึกษาและการ
พัฒนา) ตั้งแต พ.ศ.2542 และหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต(สตรีศึ กษา) ตั้งแต พ.ศ.2544
หลักสูตรทั้ง 2 ถือไดว าเปน “หลักสูตรทวนกระแส” สําหรับสังคมไทยปจจุบัน เนื่ องจาก
หลักสูตรในระดับมหาบัณฑิตที่ เปดใหมในระยะหลังไมว าจะเปนที่ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร หรือ
วามหาวิทยาลัยอื่น ๆ ของภาครัฐและเอกชน มักจะเปนหลักสูตร ที่ตอบสนองตอตลาดแรงงานที่
เรียกวา “หลักสูตรทําเงิน ” เนื่ องจากเปนหลักสูตรที่ทํ าเงินใหทั้ งตอตัวผู เรียนและตอมหาวิทยาลัยที่
เปดหลักสูตร จนเปนที่ มาของคําวา “ธุรกิจการศึกษา”
เนื้ อหาของวิทยานิพนธดี เดนทั้ง 2 ฉบับ ซึ่งถูกนําเสนอในรูปแบบของบทความเปน
ตัวอยางของความสําเร็จทางวิชาการของนักศึกษาในหลักสูตร“ทวนกระแส” ซึ่งผู เขียนทั้ง 2 ทาน
ตางก็มี เคยมีบทบาทอยู ในบริบทของ งานอาสาสมัคร เพื่ อสังคม
สวัสดีป ใหม2548
นภาพร อติวานิชยพงศ

Downloads

Download data is not yet available.