ฟื้นฟูวัฒนธรรมการเรียนรู้ สู่ชุมชนเข้มแข็ง

ผู้แต่ง

  • อรศรี งามวิทยาพงศ์

บทคัดย่อ

ปรากฏการณทางสังคมไม วาในเมืองหรือชนบทที่ คนสวนใหญ ตางก็ยอมรับและสะทอนกันอยู
โดยทั่ วไปอยางเห็นพองตองกัน คือ ในสังคมสมัยใหมคนเห็นแกตั วมากขึ้น ความตระหนักรู ในสวนรวม
ไดลดนอยถอยลงเปนลําดับทั้ งในชนบทและเมือง”จิตสํานึกชุมชน” , “จิตสํานึกทางสังคม” หรือความ
ใสใจในงานของสวนรวม ความเอื้ อเฟ อเผื่ อแผช วยเหลือกันดวยความเอื้ ออาทรเหือดหายไป โดยเฉพาะ
เมื่ อเปรียบเทียบกับยุคชุมชนกอนการพัฒนาไปสู ความทันสมัยเมื่อ 4 ทศวรรษกอน สังคมสมัยใหมมีวิถี
ชีวิตแบบตัวใครตัวมันเขมขนมากขึ้ นอยางตอเนื่ อง สรางผลกระทบอยางสําคัญตอการฟ นฟูความ
เขมแข็งเปนปกแผนของชุมชนชนบทและชุมชนเมือง
“ระบบการศึกษา”ดูวาจะตกเปนจําเลยหมายเลขหนึ่ งของปรากฏการณนี้ เนื่ องจากเปนกลไก
สังคมที่สํ าคัญที่สุ ดในการขัดเกลาสมาชิกของสังคม ดังนั้น เมื่ อสมาชิกมีจิ ตสํานึกทางสังคมลดนอยลง
การศึกษาจึงเกี่ ยวของดวยโดยตรง อยางไรก็ตาม คําอธิบายดังกลาวอาจยังคลุมเครือเกินไป ยากตอ
การนําไปกําหนดแนวทางหรือนโยบายของการแกไขเยียวยา จําเปนจะตองวิเคราะหแจกแจงเพื่ อทํา
ความเขาใจรายละเอียดของปจจัยบางประการที่ เกี่ ยวของใหแจมชัดขึ้ นอีก ในบทความนี้ ผูเขียนจะ
วิเคราะหป จจัยดาน”วัฒนธรรมการเรียนรู ”หรือแบบแผนของวิถีชีวิ ตที่ กระทบตอกระบวนการเรียนรู ของ
บุคคลในดานสวนรวม ไมว าตอชุมชน(Community)หรือตอสาธารณะ(Public) และแนวทางของการ
ฟนฟูวั ฒนธรรมการเรียนรู เพื่ อไปสู ความเข มแข็งของชุมชนและสังคม