การเสริมจิตสำนึกอาสาสมัคร ศึกษาเฉพาะกรณีหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต (บัณฑิตอาสาสมัคร) ม.ธรรมศาสตร์

ผู้แต่ง

  • จารุวิตต์ บุนนาค

บทคัดย่อ

จากการคิดยอนไปสมัยเปนบัณฑิตอาสาสมัคร เมื่ อปการศึกษา2522 และเมื่ อมาเปนเจาหนาที่
ดูแลบัณฑิตอาสาสมัครเปนเวลากวา 20 ป ไดเกิดคําถามผุดขึ้ นในหัวสมองวาหลักสูตรนี้มีส วน
เสริมจิตสํานึกอาสาสมัครไดหรือไม? ผูเขียนคิดไตรตรองแลวเห็นวา หลักสูตรนี้น าจะเสริม
จิตสํานึกอาสาสมัครใหบั ณฑิตอาสาสมัครได แตคํ าถามที่ ตามมาคือ แลวเพื่ อนพองบัณฑิต
อาสาสมัครทั้ งหลายเขามีความเห็นเชนไร? จึงเปนที่ มาของการศึกษาเพื่ อทราบความคิดเห็นของ
บัณฑิตอาสาสมัครตอหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต(บัณฑิตอาสาสมัคร) ของสํานักบัณฑิต
อาสาสมัคร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตรว ามีส วนเสริมจิตสํานึกอาสาสมัครไดหรือไม?
ในบทความนี้คํ าวา“จิตสํานึก อาสาสมัคร” หมายถึง สํานึกที่ จะทําใหมากกวาที่ จะรับหรือ
ยอมรับนอยกวาที่ ควรได “การเสริม” หมายถึง มีสวนเสริมใหเกิดไมไดสรางขึ้น “หลักสูตร
ประกาศนียบัตรบัณฑิต(บัณฑิตอาสาสมัคร)” หมายถึง หลักสูตรและกระบวนการอบรมบัณฑิต
อาสาสมัคร
สําหรับวิธี การศึกษาใชการศึกษาจากเอกสารของสํานักบัณฑิตอาสาสมัคร คูมือการศึกษา,
จุลสารวิชาการและเอกสารอื่น ๆ ที่กลาวถึงหลักสูตรและกระบวนการอบรม และการศึกษาโดยการ
สัมภาษณบั ณฑิตอาสาสมัครจากหัวขอคําถามที่ สรางขึ้น การสัมภาษณเปนการสัมภาษณอยางไม
เปนทางการ ใหอิ สระกับผู ตอบ ไมกํ าหนดเวลาในการสัมภาษณ สําหรับบัณฑิตอาสาสมัคร ไมได
ใชวิธีสุ มตัวอยาง แตถื อความสะดวกติดตอใครไดก็สั มภาษณคนนั้น จํานวน25 ราย โดยผู ตอบ
คําถามเปนบัณฑิตอาสาสมัครในปการศึกษา2516 ปการศึกษา2521-2525, ปการศึกษา2526-2532 และปการศึกษา2535-2541
อยางไรก็ตามการศึกษาครั้ งนี้มีข อจํากัดคือเอกสารที่ ใชอ างอิงเกี่ ยวกับหลักสูตรและ
กระบวนการอบรมมีไมครบ และคําถามที่ตั้ งไมไดทดสอบ ตั้งคําถามแลวนําไปใชเลย การตอบ
เปนการนึกยอนไปในอดีต ผูตอบอาจจะจําไมได และการตั้ งคําถามเปนการถามแบบปจจุบั นทัน
ดวน ซึ่งผู ตอบอาจจะไมสามารถคิดไตรตรองไดรอบดาน

Downloads

Download data is not yet available.