บทบรรณาธิการ

ผู้แต่ง

  • นภาพร อติวานิชยพงศ์

บทคัดย่อ

วารสารสํานักบัณฑิตอาสาสมัครฉบับแรกของป พ.ศ.๒๕๔๙ ไดปรากฏสู สายตาของทาน
ผูอานอีกครั้ งหนึ่ง ในวาระครบรอบ ๑ ป ของการเกิดเหตุการณโศกนาฏกรรมจากพิบัติภั ยคลื่น
ยักษ “สึนามิ” โดยในรอบปที่ผ านมา สํานักบัณฑิตอาสาสมัครไดมี สวนรวมในกิจกรรมฟ นฟู
ชุมชนหลังเหตุการณสึ นามิ ทั้งในรูปแบบของงานวิชาการและการจัดสงบัณฑิตอาสาสมัคร
ปฏิบัติ งานในหมูบ านที่ ไดรั บผลกระทบจากพิบัติภั ยรวมกับองคกรพัฒนาเอกชนในพื้ นที่
บทความที่ ปรากฏในวารสารฉบับนี้ ประกอบดวยเรื่ องราวที่ เกี่ ยวของกับการฟ นฟูชุ มชน
ภายหลังเหตุการณคลื่ นยักษสึ นามิในแงมุ มตางๆ โดยบทความแรก เรื่ อง“๑ ป สึนามิกั บการ
แกไขปญหาที่ดิ นในพื้ นที่ ธรณีพิบัติภัย ๖ จังหวัด ” เขียนโดยผูช วยศาสตราจารย ดร.บรรเจิด
สิงคะเนติ บทความที่ ๒ เปนการเรียบเรียงขึ้ นจากบันทึกคําอภิปรายในการสัมมนาทางวิชาการ
ซึ่งสํานักบัณฑิตอาสาสมัครจัดขึ้ นโดยมีวิ ทยากรที่ เปนตัวแทนของหนวยงานตางๆและนักวิชาการ
ซึ่งมีส วนในการฟ นฟูหรือศึกษาขอมูลชุมชนภายหลังเหตุการณ
นอกจากนี้ยั งมีบทความที่ เปนรายงานพิเศษจากพื้ นที่ โดยบัณฑิตอาสาสมัครของสํานักฯ ที่
ไดไปปฏิบัติ งานชวยเหลือเด็กๆในครอบครัวของผู ประสบภัยรวมกับมูลนิธิ สหทัยมูลนิธิ ซึ่งเปน
พื้นที่ ของชาวไทยพุทธ ไทยมุสลิม และชาวไทยพลัดถิ่ นสัญชาติพมา
สําหรับบทความพิเศษในฉบับนี้ เปนผลงานทางวิชาการของนักศึกษาปริญญาโทหลักสูตร
ชนบทศึกษาและการพัฒนา รุนที่ ๕ เรื่ อง “พึ่งตนเอง…ทางเลือกแหงทางรอดของสังคมไทย”
โดยเปนผลสรุปจากการสัมมนาทางวิชาการ ซึ่งนําเสนอทัศนะจากผูที่ ประสบความสําเร็จในการ
ดําเนินชีวิ ตและการประกอบอาชีพบนวิถี ทางแหงการพึ่ งตนเอง เพื่ อเปนการเสนอทางเลือกใหแก
สังคมไทยในยุคที่ชีวิ ตของผู คนสวนใหญล วนตองพึ่ งพาอยูกั บปจจัยภายนอกที่ตั วเราเองไมอาจ
ควบคุมได
เมื่ อยอนกลับไปพิจารณาเหตุการณพิบัติภั ยสึนามิ ที่เกิดขึ้ นในวันที่ ๒๖ ธันวาคม ๒๕๔๗
และสิ่ งที่ เกิดขึ้ นตามมาหลังเหตุการณ เราจะพบประเด็นที่น าสนใจหลายประการ เรื่ องแรกคือ
ปรากฏการณงานอาสาสมัครที่ เฟ องฟูอยางมากในระยะแรกหลังเกิดเหตุการณ และบางสวนยังคง
ทํางานตอเนื่ องเปนเครือขายมาถึงปจจุบัน โดยกอนหนานี้ดู เสมือนหนึ่ งวา“จิตสํานึกอาสาสมัคร”
และการทํางานอาสาสมัครเปนเรื่ องที่ ไมอยู ในกระแสของสังคมไทยในปจจุบั นที่ถู กครอบงําดวย
วัฒนธรรมบริโภคนิยมและปจเจกชนนิยม ขอวิจารณตอบรรยากาศโดยทั่ วไปของสังคม
โดยเฉพาะการใชชีวิ ตคนหนุ มสาวคือความเห็ นแกตัว ใชชีวิ ตแบบฟุ งเฟอ ไมคิ ดถึงเรื่ องสวนรวม
แตภายหลังเหตุการณสึ นามิ เรากลั บพบวามีคนจํานวนมากที่ยิ นดีอุทิ ศตัวเพื่องานอาสาสมั คร
ในการชวยเหลือผู ประสบภัย ทั้งคนหนุ มสาว เด็ก คนชรา โดยไมต องมีใครรองขอ พวกเขายินดี
สละทั้ งแรงกาย เวลา และทรัพยสิน อยางไมหวังสิ่ งตอบแทนใดๆ อุดมการณอาสาสมัครได
ปรากฏใหเห็นอยางเป นรูปธรรมจากคนสวนใหญที่ มิไดสังกัดหนวยงานหรือองคกรใดๆ ที่ มีหนาที่
เกี่ ยวของกับการชวยเหลือผู ประสบภัย
อยางไรก็ตาม เมื่ อมีสิ่ งที่ เปนดานดีก็มีสิ่ งที่ เปนดานซึ่ งสะทอนปญหาของสังคมไทยปรากฏ
ขึ้ นดวยภายหลังเหตุการณส ึนามิ บทความตางๆที่พ ิมพเผยแพรในวารสารฉบับนี้ จะทําใหท านผูอ าน
ไดเห็นภาพของ“ปญหาที่ ถูกซุกไวใตพรม” มาเปนเวลายาวนานทั้ งในเรื่ องสิทธิของการเขาถึง
ทรัพยากรของแผนดินที่ ไมเทาเทียมกันของคนกลุ มตางๆในสังคมไทย การฉกฉวยประโยชนของ
กลุ มคนบางกลุ มที่ มีอํานาจและอภิสิทธิ์ และการตอสู ชีวิตของผู สูญเสียจากเหตุการณอีกจํานวนมาก
ที่ต องดําเนินตอไปเพ ื่ อความอยู รอด
สุดทายนี้ กองบรรณาธิการขอใหผู อานวารสารทุกทาน ประสบความสําเร็จในการเริ่ มตนป
พ.ศ.ใหมและมีช ีว ิตที่ด ีกวาปท ี่ผ านมา
นภาพร อติ วานิชยพงศ
มกราคม ๒๕๔๙

Downloads

Download data is not yet available.