ตลาดกลางบ้านส้อง : ช่องทางพึ่งตนเองของท้องถิ่น กรณีศึกษาองคืการบริหารส่วนตำบลบ้านส้อง อ.เวียงสระ จ.สุราษฎร์ธานี

ผู้แต่ง

  • สุรัสวดี หุ่นพยนต์

บทคัดย่อ

บทความนี้ถื อเปนสวนหนึ่ งของโครงการวิจั ยเชิงปฏิบัติ การสงเสริม อบต.ธรรมาภิบาลดีเดน
ซึ่ง สถาบันปวย อึ๊งภากรณ สนับสนุนใหสํ านักบัณฑิตอาสาสมัครจัดทําขึ้น ดวยการจัดประชุมสัมมนา
แลกเปลี่ยนประสบการณความรู ความสามารถในการบริหารจัดการ อบต.ธรรมาภิบาลดีเดน ใหแก
อบต.ที่ไดรั บรางวัลที่ 1 ในระดับจังหวัด ประจําป2546 รวม7 ครั้ง มีองคการบริหารสวนตําบลที่
ไดรั บรางวัลที่ 1 ระดับจังหวัด เขารวมประชุมสัมมนา 58 แหง จาก75 แหง มีผูแทน อบต. รวม244
คน เปนชาย180 คน หญิง 64 คน ประกอบดวย ประธาน หรือ นายก อบต. ประธานสภา อบต. รอง
ประธานสภา อบต. ปลัดอบต. ผูแทนประชาคมหญิง และ ผูแทนประชาคมชาย
หลังจากการประชุมสัมมนาแลกเปลี่ ยนทั้ง 7 ครั้ง แลว คณะวิจั ยเชิงปฏิบัติ การฯ ไดพิ จารณา
เลือกศึกษาเจาะลึก ในองคการบริหารสวนตําบล ที่มีการบริหารจัดการที่ดี ตามหลักธรรมาภิบาล และมี
ความโดดเดนในการบริหารงาน ในดานต าง ๆ เชน การมีส วนรวมของประชาชน การสงเสริม
เศรษฐกิจชุมชน การอนุรั กษดู แลสภาพแวดลอม การบริการจัดการขยะมูลฝอย ฯลฯ รวม10 กรณี
องคการบริหารสวนตําบลบานสอง อําเภอเวียงสระ จังหวัดสุราษฎร ธานี ถือเปนหนึ่ งใน
องคการบริหารสวนตําบล ที่มีชื่อเสียงและความสําเร็จในการสงเสริมเศรษฐกิ จชุมชน ดวยการสนับ
สนุน การจัดตั้ งตลาดกลางพืชผลทางการเกษตรของทองถิ่น ซึ่งถือเปนตลาดกลางยางพาราในระดับ
ตําบล ทําหนาที่ช วยพยุงราคาพืชผลทางการเกษตร โดยเฉพาะยางพาราซึ่ งเปนพื ชหลักของชาวตําบลบานสองและพื้ นที่ ใกลเคี ยง สงผลใหเกษตรกรมีตลาดในการจําหนวยผลิตผลทางการเกษตรที่ แนนอนและมีรายไดเฉลี่ ยตอปเพิ่ มขึ้น