การวิจัยและพัฒนาศักยภาพครูด้านการประเมินการเรียนรู้ตามสภาพจริง โดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน

Main Article Content

กฤธยากาญจน์ โตพิทักษ์

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาศักยภาพครูด้านการประเมิน การเรียนรู้ตามสภาพจริงโดยใช้โรงเรียน เป็นฐานกลุ่มเป้าหมายเป็นครูโรงเรียนกรณีศึกษา 9 คน เครื่องมือการวิจัยได้แก่รูปแบบการพัฒนาศักยภาพครูด้าน การประเมินการเรียนรู้ตามสภาพจริงโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานแบบวัดความรู้ เจตคติ และทักษะการประเมินการเรียนรู้ตามสภาพจริงแบบประเมินคุณภาพ การประเมินการเรียนรู้ตามสภาพจริง และแบบวัดความพึงพอใจที่มีต่อรูปแบบ การพัฒนาศักยภาพครูด้านการประเมินการเรียนรู้ตามสภาพจริงโดยใช้โรงเรียน เป็นฐานวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าเฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานการทดสอบวิลคอกซัน ผลการวิจัย พบว่า 1) รูปแบบการพัฒนาศักยภาพครูด้านการประเมินการเรียนรู้ ตามสภาพจริงโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานมี 4 องค์ประกอบ ได้แก่ การเตรียมการการอบรมเชิงปฏิบัติการ การปฏิบัติการ และการติดตามผล โดยโครงสร้างของรูปแบบมีความเหมาะสมระดับมาก และองค์ประกอบย่อยของรูปแบบมีความเหมาะสมความเป็นไปได้ ความชัดเจน และความง่ายต่อการนาไปใช้อยู่ในระดับมาก 2) ครูมีความรู้หลังการฝึกอบรมสูงกว่าก่อนการฝึกอบรมอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01 มีเจตคติหลังการฝึกอบรม สูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 75 มีทักษะหลังการฝึกอบรมสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 70 คุณภาพ การประเมินการเรียนรู้ตามสภาพจริง และความพึงพอใจที่มีต่อรูปแบบอยู่ในระดับมาก

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กฤติยา วงศ์ก้อม. (2547). รูปแบบการพัฒนาครูด้านการประเมินการเรียนรู้ตามแนวคิดการประเมินแบบเสริมพลังอานาจสอดคล้องกับพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพุทธศักราช 2542. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาการวัดและประเมินผลการศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

กลุ่มงานคณะกรรมาธิการการศึกษา. (2552). รายงานสรุปผลการสัมมนา เรื่อง ทศวรรษที่สองของการปฏิรูปการศึกษา : ปัญหาและทางออก. กรุงเทพฯ : สานักกรรมาธิการ 3 สานักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร.

เฉลิมชัย พันธ์เลิศ. (2549). การพัฒนากระบวนการเสริมสมรรถภาพการชี้แนะของนักวิชาการพี่เลี้ยงโดยใช้การเรียนรู้แบบเน้นประสบการณ์ในการอบรมโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาหลักสูตรและการสอน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ทรงศิลป์ ศรีธรราษฎร์. (2552). รายงานรายงานการพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมเรื่อง การประเมินผลตามสภาพจริงสาหรับครูผู้สอนโรงเรียนเทศบาล 4 (สิทธิไชยอุปถัมภ์) ปีการศึกษา 2552. สมุทรปราการ : เทศบาลนครสมุทรปราการ.

นงลักษณ์ วิรัชชัย. (2545). รายงานผลการดาเนินโครงการนาร่องระดับชาติ เรื่องกระบวนการปฏิรูปเพื่อพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้ : การประเมินและ การประกัน. กรุงเทพฯ : วี.ที.ซี.คอมมิวนิเคชั่น.

นุชรี ผิวนวล. (2549). การพัฒนาบุคลากรโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานเกี่ยวการวิจัยในชั้นเรียน. วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

รัตนะ บัวสนธ์และคณะ (2550) การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมเพื่อพัฒนาความสามารถในการประเมินตามสภาพจริงของครูสังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กรณีศึกษาโรงเรียนแห่งหนึ่งในจังหวัดภาคกลางตอนบน. พิษณุโลก : มหาวิทยาลัยนเรศวร.

ราเพย ภาณุสิทธิกร (2547). การศึกษาผลสัมฤทธิ์ของการฝึกอบรมโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน เรื่องกระบวนการเรียนการสอนโดยใช้รูปแบบการเรียนรู้แบบร่วมมือ. ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

วินัย บัวแดง. (2547). การพัฒนาคู่มือการประเมินผลตามสภาพจริง กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยสาหรับครูประถมศึกษา. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยศิลปากร.

ศศิธร เขียวกอ. (2548). การพัฒนาสมรรถภาพด้านการประเมินสาหรับครูโรงเรียนประถมศึกษาเปรียบเทียบผลการฝึกอบรมระหว่างการฝึกอบรมครูแบบดั้งเดิมและแบบใช้โรงเรียนเป็นฐาน. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิธีวิทยาการวิจัยการศึกษา จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย.

สกาวรัตน์ เชยชุ่ม. (2543). การนาเสนอรูปแบบการวิจัยปฏิบัติการสาหรับพัฒนาครูประถมศึกษาโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ภาควิชาวิจัยการศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สมจิต สวธนไพบูลย์ และคณะ (2548). การวิจัยและพัฒนาชุดฝึกอบรมการวิเคราะห์หลักสูตรที่ใช้โรงเรียนเป็นฐาน ภายใต้ชุดโครงการ การวิจัยและพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์. กรุงเทพ ฯ : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

สุวิมล ว่องวาณิช. (2546). การวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน. กรุงเทพฯ : อักษรไทย.

สายฝน แสนใจพรม. (2554). การพัฒนาระบบการวัดประเมินผลเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ของนักเรียน. เชียงใหม่ : มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่.

อมรา เขียวรักษา. (2549). การพัฒนาหลักสูตรการฝึกอบรม เรื่องการประเมินผลการเรียนรู้ตามสภาพจริงโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานสาหรับครูวิทยาศาสตร์ประถมศึกษา. ปริญญานิพนธ์การศึกษาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิทยาศาสตร์ศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

Adams., T. L. (1996). Modeling authentic assessment for preservice elementary school teachers. The Teacher Educator. [Available online at :http://cdnet2.car.chula.ac.th] 32 (Au) : 75 84.

Archbald, D. A.,and Newmann, F. M. (1988). Beyond Standardized Testing: Assessing Authentic AcademicAchievement in the Secondary School. Reston, VA: National Association of School Principals.

Cardler, J. (1991). Authentic assessment: Finding the right tools. Educational Leadership. 57(5) (pp.20-26)

Fuller, D. P. (1994). The use of authentic assessment to predict success of basic skills education an program student. ED.D. BOSTON UNIVERSITY Dissertation Abstracts International Vol. 55-03 : p.0540. [Available online at : http://cdnet2.car.chula.ac.th]

Pickett, N., and Dodge, B.(2001). Rubrics for Web Lessons [Available online at: http://edweb.sdsu.edut/rubrics/ weblessons.htm]

Stufflebeam, D.L. & others (1981). Standards for Evaluations of Educational Programs, Projects and Materials. The joint committee on standards for educationalev.