ปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีของพนักงานธนาคารแห่งหนึ่ง

Main Article Content

ธนายุ ภู่วิทยาธร

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีของพนักงานธนาคารแห่งหนึ่งโดยการเก็บข้อมูลกับกลุ่มตัวอย่าง จานวน 132 คน ด้วยแบบสอบถามและวิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้สถิติ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ
ผลการวิจัย พบว่า ความยุติธรรมในองค์การ ความพึงพอใจในการทางาน และความผูกพันต่อองค์การ ส่งผลบวกต่อพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีของพนักงานธนาคารแห่งหนึ่ง และค่าสหสัมพันธ์พหุคูณของพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การ กับ ความผูกพันต่อองค์การความยุติธรรมในการทางาน และความพึงพอใจในการทางานเท่ากับ 0.707 โดยที่ตัวพยากรณ์ทั้ง 3 ตัว สามารถพยากรณ์พฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีของพนักงานธนาคารแห่งหนึ่ง ได้ร้อยละ 49.90

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กัลยา วานิชย์บัญชา. (2555). การใช้ SPSS for Windows ในการวิเคราะห์ข้อมูล. กรุงเทพฯ : ธรรมสาร.

กิตติคุณ ลาภเบญจพร. (2559). ความสัมพันธ์ระหว่างการจัดการทรัพยากรมนุษย์กับประสิทธิภาพการปฏิบัติงานและความผูกพันต่อองค์กรของพนักงานในสำนักงานบัญชีเขตอำเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาบริหารธุรกิจ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี.

ณัฐธิดา ชูเจริญพิพัฒน์. (2555). วัฒนธรรมในองค์กรที่มีผลต่อการปฏิบัติงานของพนักงานธนาคารไทยพาณิชย์ เขตนครสรรค์. การศึกษาค้นคว้าอิสระบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.

ณัทพล โตบารมีกุล. (2555). ปัจจัยด้านคุณภาพชีวิตการทำงานที่มีผลต่อความผูกพันต่อองค์การของพนักงานธนาคารธนชาต สังกัดสำนักงานภาคกลาง 3.วิททยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร.

ดวงฤทัย ศรีเร. (2555). ผลกระทบของการมุ่งเน้นการทำงานเป็นทีมที่มีต่อความสำเร็จในการปฏิบัติงานของพนักงานธนาคารในเขตจังหวัดขอนแก่น. วิทยานิพนธ์ปริญญาการจัดการมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

บุญชม ศรีสะอาด. (2545). การวิจัยเบื้องต้น. กรุงเทพฯ : สุวีรยาสาส์น.

ปัณณษร เทียนทอง. (2555). วัฒนธรรมองค์การที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงานธนาคารธนชาต. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร.

รุจิรา พักตร์ฉวี, ศักดิ์นรินทร์ หลิมเจริญและอัญชณา แจ่มแสงทอง. (2557). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์และทำนายความผูกพันต่อองค์การของบุคลากรสาธารณสุขจังหวัดจันทบุรี. วารสารวิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้า, 25 (1), 64-77.

วราภรณ์ ตระกูลสฤษดิ์. (2549). การทำงานเป็นทีม. กรุงเทพฯ : ศูนย์ส่งเสริมวิชาการ.

ศิริชัย กาญจนวาสี, ทวีวัฒน์ ปิตยานนท์ และดิเรก ศรีสุโข. (2555). การเลือกใช้สถิติที่เหมาะสมสำหรับการวิจัย. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สุวิสา พลายแก้ว. (2557). วัฒนธรรมองค์การ ความผูกพันต่อองค์การที่ส่งผลต่อประสิทธิผลการปฏิบัติงานของบุคลากรในกองทัพอากาศ.ในงานการประชุมวิชาการระดับชาติ ประจำปี ๒๕๕๗ (National Research Conference 2014) วันที่ 3 เมษายน 2557 ณ มหาวิทยาลัยรังสิต หน้า 418 - 425.

อโนชา สุวรรณสาร, นภาภรณ์ พลนิกรกิจและจรวย สาวิถี. (2555). ผลกระทบของคุณลักษณะองค์กรที่ต่อประสิทธิภาภพการทำงานเป็นทีมของสำนักงานบัญชีในประเทศไทย. วารสารการบัญชีและการจัดการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 4 (4), 84-93.

Allen, N.J. and Meyer, J.P. (1990). The Measurement and Antecedents of Affective,Continaunce and Normative to the Organizations. Commitment to the Organizations. Journal of Occupational Psychology.

Hosseini, M. (2012). Analysis of team working on Organizational Commitment in SafaIndustrial Group in Iran. RESEARCH INVENTY: International Journal of Engineering and Science, 1(3), 22-25.

Hosseini, M.(2013). The effect of organizational culture, teamwork and organizational development on organizational commitment: the mediating role of human capital. Tehnički vjesnik, 20(6),1019-1025.

Haerudin and Santoso, B.(2016).The Role of Islamic Work Ethic, Spiritual Leadership and Organizational Culture Toward Attitude on Change With Organizational Commitment and Job Involvement as Mediator on Bank Pembiayaan Rakyat Syari’ah(BPRS) Indonesia. International Review of Management and Business Research, 5(3), 827-843.

Krejcie, R.V. and Morgan,D.W. (1970). Determining Sample Size for Research Activities.Educational and Measurement.

O’Reilly, C. A., Chatman, J.and Caldwell, D. F. (1991). People and Organizational Culture: A profile comparison approach to assessing Person-Organization Fit. Academy of Management Journal, 34 (3), 487-516.