อัตลักษณ์วิถีวัฒนธรรมชุมชนตะปอน อำเภอขลุง จังหวัดจันทบุรี : การจัดการเพื่อพัฒนารูปแบบการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน

Main Article Content

นภสร โศรกศรี

บทคัดย่อ

  The purposes of this research are to analyze cultural identities and assess the importance of cultural heritage, to study guidelines for development of cultural tourism model, and to prepare suggestions and guidelines for development of cultural tourism model of Tapon Community, Khlung District, Chanthaburi province to be sustainable. This research is a qualitative research. The methods included field survey, participatory observation, in-depth interview, group discussion, participation in cultural activities with the community and research on related documents.


            The results revealed that Tapon Community houses were tangible cultural heritage sites, such as the old temples: Tapon Noi Temple, Tapon Yai Temple, which were registered as a historic site by the Fine Arts Department due to its outstanding architecture and valuable physical characteristics with potential learning resource and cultural tourism attraction. The tradition of Phra Bat Cloth Procession and local games, such as "Kwien Phra Bat tug of war", are cultural heritage that has value and importance and is the unique identity of the community as a result of belief and faith. The traditions have long been inherited, and they are social activities that encourage love and unity of the people in the community as well as strengthening the relationship between the community and society around Tapon Community. In addition, the community attracts outsiders, including tourists, who receive information from legends or stories related to beliefs and sacredness of the rituals. According to the research results, the focus is on the determination and guidelines for cultural tourism development based on the concept of quality cultural heritage management to create social value and to increase economic value with the participation of all groups, sexes and ages of people of Tapon Community in the management of plans and various projects which are practical and will result in sustainable cultural tourism in Tapon Community.

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กรมการศาสนา. (2529). ประวัติวัดทั่วราชอาณาจักร. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์การศาสนา.

กรมศิลปากร. (2555). รายงานการอนุรักษ์วัดตะปอนใหญ่. จันทบุรี: สำนักศิลปากรที่ 5 ปราจีนบุรี.
กรมส่งเสริมวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม.(2556).เข้าถึงได้จาก http://culture.go.th/study.php?&YY=2548&MM=5&DD=16

กรมส่งเสริมวัฒนธรรม. (2559). เข้าถึงได้จาก http://ich.culture.go.th

กระทรวงวัฒนธรรม. (2550). แผนแม่บทวัฒนธรรมแห่งชาติ พ.ศ. 2550-2559. กรุงเทพฯ : สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงวัฒนธรรม.

คณะกรรมการฝ่ายประมวลเอกสารและจดหมายเหตุในคณะกรรมการอำนวยการจัดงานเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว. (2542). วัฒนธรรม พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ เอกลักษณ์และภูมิปัญญา จังหวัดจันทบุรี. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว.

ชัชชัย โกมารทัต, ฟอง เกิดแก้ว และประพัฒน์ ลักษณพิสุทธิ์. (2527). กีฬาพื้นเมืองไทย: ศึกษาและวิเคราะห์คุณค่าทางด้านพลศึกษา. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ธนิก เลิศชาญฤทธิ์. (2554). การจัดการทรัพยากรวัฒนธรรม. กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร.

ปรียนันท์ สิทธิจินดาร์. (2551). การพัฒนาศักยภาพการท่องเทียวเชิงเกษตร-วัฒนธรรม โดยการมีส่วนร่วมของชุมชนตําบลตะปอน อําเภอขลุง จังหวัดจันทบุรี. จันทบุรี: มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี.

พวงแก้ว พรพิพัฒน์. (2553). เศรษฐกิจสร้างสรรค์: พลังขับเคลื่อนใหม่ของเศรษฐกิจไทย. วารสารเศรษฐกิจและสังคม, 47(4), 6.

ราชบัณฑิตยสถาน. (2544). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542. กรุงเทพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน.

วิทยาลัยนาฏศิลป์จันทบุรี. (2550). เพลงพื้นบ้าน การแสดงและการละเล่นพื้นบ้านจังหวัดจันทบุรี. จันทบุรี.

ศิลปวัฒนธรรม. (2557). สืบสานประเพณีท้องถิ่น ชักเย่อเกวียนพระบาท. เดลินิวส์, 27 เมษายน 2557. เข้าถึงได้ จาก https://www.dailynews.co.th/article/233064

ศุภวัฒน์ หิรัญธนวิวัฒน์. (2555). การศึกษาประวัติศาสตร์และสถาปัตยกรรม วัดพุทธศาสนา พื้นที่ชายฝั่งทะเลภาคตะวันออกของประเทศไทย สมัยกรุงศรีอยุธยา ถึง สมัยรัชกาลที่ 5 กรุงรัตนโกสินทร์. วารสารวิชาการสถาปัตยกรรมศาสตร์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 61, 198.

สถาบันวิจัยสภาวะแวดล้อม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. (2549 ก). คู่มือประเมินมาตรฐานแหล่งท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์. กรุงเทพฯ: สำนักงานพัฒนาการท่องเที่ยว กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา.

สุชาติ เถาทอง. (2544). ศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญาพื้นถิ่นภาคตะวันออก. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์.

สุภัทรดิศ ดิศกุล, ม.จ. (2515). ทับหลังแบบถาลาบริวัตรในประเทศไทย. วารสารโบราณคดี, 4(1), หน้า 11-17.

สายัณห์ ไพรชาญจิตร์. (2550). การจัดการทรัพยากรทางโบราณคดีในงานพัฒนาชุมชน (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ :โครงการหนังสือโบราณคดีชุมชน.

สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ. (2552). มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม. กรุงเทพฯ : กระทรวงวัฒนธรรม.

สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2552). รายงานการศึกษาเบื้องต้นเศรษฐกิจสร้างสรรค์ (The Creative Economy).กรุงเทพฯ : บี.ซี. เพรส (บุญชิน).

สำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดจันทบุรี. (2559). ข้อมูลพื้นฐานจังหวัดจันทบุรี. (เอกสารอัดสำเนา)

สำนักนายกรัฐมนตรี. (2556). ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการส่งเสริมเศรษฐกิจสร้างสรรค์ พ.ศ. 2556. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 130 ตอนพิเศษ 13 ง 29 มกราคม 2556 หน้า 1, เข้าถึงได้จาก http://ratchakitcha.soc.go.th

อาคม เติมพิทยาไพสิฐ. (2554). เศรษฐกิจสร้างสรรค์ของไทย. เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหารระดับสูงกระทรวงวัฒนธรรม.

อาคม เติมพิทยาไพสิฐ และธานินทร์ ผะเอม. (2555). แผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 1-11สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เข้าถึงได้จาก http://www.nesdb.go.th/portals/0/news/article/plan 1-11.pdf