ปัจจัยความสำเร็จในการดำเนินธุรกิจอาหารฮาลาล เพื่อการท่องเที่ยวในจังหวัดภูเก็ต

Main Article Content

จิราพร ประสารการ
วิญญู วีรยางกูร
วรพงศ์ ภูมิบ่อพลับ

บทคัดย่อ

                งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบันและปัจจัยความสำเร็จในการดำเนินธุรกิจอาหารฮาลาลเพื่อการท่องเที่ยวในจังหวัดภูเก็ต ใช้ระเบียบวิธีวิจัยแบบผสมผสาน โดยการสัมภาษณ์ และใช้แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา การวิเคราะห์องค์ประกอบ การวิเคราะห์หาค่าความสัมพันธ์และการวิเคราะห์สมการถดถอยพหุคูณผล การวิจัยพบว่า สภาพปัจจุบันของธุรกิจอาหารฮาลาลเพื่อการท่องเที่ยวในจังหวัดภูเก็ตมีแนวโน้มเติบโตสูงขึ้น และปัจจัยความสำเร็จในการดำเนินธุรกิจอาหารฮาลาลเพื่อการท่องเที่ยวประกอบด้วย 2 ส่วน คือ1) ปัจจัยหลักด้านร้านอาหาร  ฮาลาล ประกอบด้วย ความน่าเชื่อถือ การมีเอกลักษณ์ คุณภาพด้านการบริการ การเข้าถึงสถานที่ตั้ง การเป็นมืออาชีพด้านอาหารฮาลาลเพื่อรสชาติและคุณภาพอาหาร สิ่งอำนวยความสะดวกภายในร้าน และความรับผิดชอบต่อสังคม 2) ปัจจัยสนับสนุน ประกอบด้วย การสร้างความเข้าใจด้านอาหาร ฮาลาลแก่ผู้ประกอบการ การผลักดันร้านอาหารให้ได้รับมาตรฐานการบริการอาหารฮาลาลเพื่อการท่องเที่ยว การสร้างบรรยากาศที่เป็นมิตรกับนักท่องเที่ยวมุสลิม การประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยว ฮาลาลและอาหารฮาลาล การสร้างการรับรู้สัญลักษณ์ฮาลาลไทย การเชื่อมโยงอาหารฮาลาลกับการท่องเที่ยวชุมชน และการสร้างเครือข่ายธุรกิจฮาลาล

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กรมการท่องเที่ยว. (2557). รายชื่อสถานประกอบการที่ผ่านการรับรองมาตรฐานการบริการอาหารฮาลาลเพื่อการท่องเที่ยวประจำปี 2554 [ออนไลน์].เข้าถึงได้ จาก:http://www.tourism.go.th/home/details/11/797/1633[27ตุลาคม 2558].

ไทยรัฐออนไลน์. (2558).รุกตลาดตะวันออกกลาง ททท.วางจุดขายไทยแหล่งท่องเที่ยวมุสลิม.[ออนไลน์].เข้าถึงได้จาก:http://www.thairath.co.th/content/498895. [11 ตุลาคม 2558].

นริศ บุญประสิทธิ์. (2549). การบริหารจัดการร้านอาหารที่มีผลต่อพฤติกรรมการให้บริการและความพึงพอใจของลูกค้าในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี.

ภาวดี บุญมาเลิศ. (2544). การศึกษาการรับรู้ข้อมูลทัศนคติและพฤติกรรมของผู้บริโภคที่มีต่อเครื่องหมายฮาลาล เพื่อผลทางการตลาด. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต.

ศราวุฒิ อารีย์. (2556). การท่องเที่ยวฮาลาลและศักยภาพของไทย : วิถีมุสลิมโลก.[ออนไลน์].เข้าถึงได้จาก:http://www.komchadluek.net/detail/20130208/151294.html [1 ตุลาคม 2558].

ศิรเชษฐ์ : Marketing ZONE. (2558). Niche Market: การตลาดเฉพาะกลุ่ม. [ออนไลน์].เข้าถึงได้จาก:http://sirachet.weebly.com/niche-market-3 html. [2 พฤศจิกายน 2558].

สงกรานต์ นันทพินิต. (2555). กุญแจแห่งความสำเร็จ ของร้านอาหาร จากประสบการณ์ที่เคยเจอ.[ออนไลน์].เข้าถึงได้จาก: http://www.gotoknow.org/posts/492521 [20 ตุลาคม 2558].

สถาบันมาตรฐานฮาลาลแห่งประเทศไทย. (2550). ฮาลาลคืออะไร ? ทำไมต้อง ฮาลาล.[ออนไลน์].เข้าถึงได้จาก:http://www.halal.or.th/th/main/content.php?page=sub&category=11&id=11 [20 ตุลาคม 2558].

สาลิกา ค้าสุวรรณ. (2554). ภาพลักษณ์อาหารฮาลาลไทยในกลุ่มผู้บริโภคมุสลิมตะวันออกกลาง.[ออนไลน์].เข้าถึงได้จาก: http://www.bu.ac.th/knowledgecenter/epaper/jan_june2012/pdf/08.pdf [1 ตุลาคม 2560].

สำนักงานคณะกรรมการกลางอิสลามแห่งประเทศไทย. (2554).มาตรฐานการบริการอาหารฮาลาลเพื่อการท่องเที่ยว.[ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://www.cicot.or.th/2011/main/content.php?page=news&category=10&id =1093[20 ตุลาคม 2558].

เอกราช มูเก็ม. (2557).เปิดประตูภูเก็ตสู่เมืองธุรกิจฮาลาลอันดามันPhuket Andaman Halal for Tourism 2014 : PAHT 2014. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก:http://www.thealami.com/ main/content.php?page=& category=2&id=1284.[11 ตุลาคม 2558].

อิสมาอีลอบูบักรฺ. (2558). แนวคิดธุรกิจอิสลาม.(Islamic Business Concepts). [ออนไลน์].เข้าถึงได้จาก: http://www.islammore.com/view/1664. [2 พฤศจิกายน 2558].

Ahmad RusydiRazak, RohanaKamaruddin, HadijahIberahim, Norlida Abdul Hamid and MohdArmi Abu Samah.(2015). “Halal Food Services Management Priority (HFMP) using Multi Criteria Decision Making (MCDM)” International Malaysia Halal Conference 2015 (IMHALAL2015), Malaysia.

Angelo, Rocco M. (2004). Hospitality today: an introduction. Lansing, Mich:Educational Institute, American Hotel & Lodging Association.
Athena H.N. Mak, Margaret Lumbers, Anita Eves, and Richard C.Y. Chang. (2012). “Factors Influencing Tourist Food Consumption”, International Journal of HospitalityManagement, 31(3), pp. 307-316.

Jamal Abdul Nassir Shaari, Muhammad Khalique, and FahdlinaAleefah.(2014) “Halal Restaurant: What Makes Muslim In Kuching Confident?”Journal of Economic Development, Management, IT, Finance and Marketing, 6(1), 23-34, March 2014.

Mastercard-Crescentrating.(2015). Global Muslim Travel Index 2015 (GMTI 2015).[Online]. Available: http://gmti.crescentrating.com/. [11th October 2017].

Mastercard-Crescentrating. (2017). Global Muslim Travel Index (GMTI 2017). [Online] Available:https://www.crescentrating.com/reports/mastercard-crescentrating-global-muslim-travel-index-gmti-2017.html# [15thJanuary 2018].

Mohani Abdul, Hashanah Ismail, HaslinaHashim and Juliana Johari.(2009). “Consumer decision making process in shopping for halal food in Malaysia”,China-USA Business Review, Sep. 2009, Volume 8, No.9 (Serial No.75).

Pew Research Center. (2015).The Future of World Religions: PopulationGrowth Projections, 2010-2050.[Online].Available: [1st October 2016].

Pew Research Center.(2016). The Changing Global Religious Landscape.[Online]. Available: http://www.pewforum.org/2017/04/05/the-changing-global-religious-landscape/#global-population-projections-2015-to-2060 [1st October 2017].

Syed Shah Alam, Nazura Mohamed Sayuti, (2011) “Applying the Theory of Planned Behavior (TPB) in halal food purchasing”,International Journal of Commerce and Management, Vol. 21 Iss: 1, pp.8 – 20.

William G. Cochran. (1977).Sampling Techniques (3th Edition). [Online].Available:https://archive.org/details/Cochran1977SamplingTechniques_201703. [25th November 2016].