คำคุณศัพท์ในภาษาถิ่นใต้ประเทศมาเลเซีย : วิเคราะห์ตามแนวคิดความสัมพันธ์แบบพึ่งพา
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความวิจัยนี้ศึกษาคำคุณศัพท์ในภาษาถิ่นใต้ประเทศมาเลเซียตามหลักการพึ่งพาของทฤษฎีไวยากรณ์ศัพทการก (Lexicase grammar) โดยพิจารณาจากการทำหน้าที่ในหน่วยพึ่งพาระดับวากยสัมพันธ์ ผลการศึกษาพบว่า ในภาษาถิ่นใต้มีคำคุณศัพท์ 2 ประเภท ได้แก่ คำคุณศัพท์ประเภทบอกลักษณะ เป็นคำคุณศัพท์ที่แปลงมาจากทั้งคำนามและคำกริยาแล้วทำหน้าที่ขยายคำนาม แสดงความหมายใน 3 ลักษณะ ได้แก่ แสดงความหมายเพิ่มขึ้น แสดงความหมายเป็นพหูพจน์ และแสดงความหมายว่าแต่ละส่วน คำคุณศัพท์ประเภทบอกกำหนด สามารถจำแนกได้เป็น 4 ชนิด ได้แก่ ชนิดเจาะจง รวมกลุ่ม ชี้เฉพาะและบอกเน้น ในกรณีที่มีคำคุณศัพท์หลายคำปรากฏร่วมกันเรียงกัน มักจะเรียงลำดับจากคำคุณศัพท์ประเภทบอกลักษณะแล้วตามด้วยคำคุณศัพท์ประเภทบอกกำหนดเสมอ
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรง ซึ่งกองบรรณาธิการวาสารฯ ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วยหรือร่วมรับผิดชอบใด ๆ
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใด ๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากวารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ตก่อนเท่านั้น
References
Chaicharoen, N. (2011). Adjectives in Thai language in Prasithrathsint, A (Ed), Grammar of Standard Thai (p. 90-96). Office of the Higher Education Commission and The Thailand Research Fund (TRF).
Engchuan, K. (2011). A Pan-Dialectal Grammar of Thai Project, Volume 5, A Grammar of Southern Thai. Office of the Higher Education Commission and The Thailand Research Fund (TRF).
Prasithrathsint, A. (2010). Parts of Speech in Thai : A Syntactic Analysis. ASP Publisher.
Prasithrathsint, A., Hunchamlong, Y., & Sawettamal, S. (2011). Grammatical theories. ASP Publisher.
Prasithrathsint, A., Intramphan, K., & Chaicharoen, N. (2011). A Pan-Dialectal Grammar of Thai Project, Volume 1, A Grammar of Standard Thai. Office of the Higher Education Commission and The Thailand Research Fund (TRF)
Rungrojsuwan, S. (2011). A Pan-Dialectal Grammar of Thai Project, Volume 3, A Grammar of Northern Thai. Office of the Higher Education Commission and The Thailand Research Fund (TRF).
Sankaburanurak, S. (2011). A Pan-Dialectal Grammar of Thai Project, Volume 2, A Grammar of Central Thai. Office of the Higher Education Commission and The Thailand Research Fund (TRF).
Starosta, S. 2015. The case for Lexicase. Bloomsbury Publishing Plc.
Srisuk. W. (2009). The social role and participation in development of Thai people in Kelantan state, Malysia. Prince of Songkla University Publisher.
Thongchuay, Ch. (1983). Current Thai Dialec In Kelantan Kedah And Perlis [Doctoral dissertation]. Chulalongkorn University.
Trongdee, T. (2011). A Pan-Dialectal Grammar of Thai Project, Volume 4, A Grammar of Northeastern Thai. Office of the Higher Education Commission and The Thailand Research Fund (TRF).