แนวทางสู่ความสำเร็จของการจัดการการท่องเที่ยวโดยชุมชน

ผู้แต่ง

  • อุษา กล้าวิจารณ์ คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์

คำสำคัญ:

การท่องเที่ยวโดยชุมชน, การจัดการ, แนวทางสู่ความสำเร็จ

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์ที่จะนำเสนอแนวคิดของการท่องเที่ยวโดยชุมชน หลักการของการท่องเที่ยวโดยชุมชนที่มุ่งเน้นการมีส่วนร่วมของชุมชน ประโยชน์ที่ชุมชนจะได้รับจากการท่องเที่ยวทั้งในด้านการพัฒนาชุมชน ด้านการพัฒนาคน และด้านเศรษฐกิจชุมชนและคุณภาพชีวิต และมุ่งเน้นแสดงให้เห็นแนวทางสู่ความสำเร็จของการจัดการการท่องเที่ยวโดยชุมชนโดยขึ้นอยู่กับปัจจัยหลัก อันได้แก่ศักยภาพของชุมชน ศักยภาพของคนในชุมชน และศักยภาพของการบริหารจัดการ และต้องมีการดำเนินการอย่างเป็นขั้นตอน ตั้งแต่การประเมินความเป็นไปได้ของชุมชน การดำเนินงาน และการประเมินผล หากชุมชนนำไปใช้ในการบริหารจัดการการท่องเที่ยวแล้ว ก็จะทำให้ชุมชนเกิดความยั่งยืนได้

References

[1] กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. (2555). สรุปแผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ พ.ศ. 2555-2559. สืบค้น 17 พฤษภาคม 2560 จาก http://www.businesseventsthailand.com/.../user/Thailand_tourism_Dev_Plan.pdf.

[2] องค์การบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน (องค์การมหาชน). (ม.ป.ป.). เอกสารชุดความรู้การท่องเที่ยวโดย ชุมชน. สืบค้น 17 พฤษภาคม 2560 จากhttps://www.dasta.or.th/dastaarea7/attachments/article/118/file1.docx

[3] กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. (2558). ยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวไทย พ.ศ. 2558-2560. สืบค้น 17 พฤษภาคม 2560 จาก http://www.mots.go.th/ewt_dl_link.php?nid=7114.

[4] นิศา ชัชกุล. (2551). อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว.กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

[5] (ม.ป.ป.) หลักการของการพัฒนาท่องเที่ยวโดยชุมชน. (2558). สืบค้น 17 พฤษภาคม 2560 จาก www.krabi.go.th/krabi2015/m_file/life/lifetravel/25.pdf.

[6] มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. (ม.ป.ป.). บทที่ 8 การพัฒนาการท่องเที่ยวกับการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน. สืบค้น 17 พฤษภาคม 2560 จาก (DOC) fuangfah.econ.cmu.ac.th>thanes>files.

[7] คณะทำงานการพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากและประชารัฐ กระทรวงมหาดไทย. (2560). คู่มือประชารัฐรักสามัคคี เล่ม 1. สืบค้น 10 กรกฎาคม 2560 จาก
www.cdd.go.th>uploads>sites>2017/05.

[8] (ม.ป.ป.) หลักการของการพัฒนาท่องเที่ยวโดยชุมชน. (2558). สืบค้น 17 พฤษภาคม 2560 จากwww.krabi.go.th/krabi2015/m_file/life/lifetravel/25.pdf.

[9] สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี. (2560). มติคณะรัฐมนตรี เรื่อง แผนยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวโดยชุมชนอย่างยั่งยืน พ.ศ. 2559-2563 (CBT. Thailand). สืบค้น 17 พฤษภาคม 2560 จาก https: cabinet.soc.go.th./…/Program2-3.jsp?

[10] ณัฐกานต์ รุ่งเรือง และ ลินจง โพชารี. (2559). องค์ประกอบของการจัดการการท่องเที่ยวโดยชุมชนที่ส่งผลต่อแนวทางการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวอ่างวังแข้และภูฆ้องคำ ตำบลแก่งเค็ง อำเภอกุดข้าวปุ้น จังหวัดอุบลราชธานี. (วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการจัดการการท่องเที่ยวและโรงแรม, มหาวิทยาลัยมหาสารคาม).

[11] อภิวัฒน์ ภูริศิวารักษ์. (2553). การจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน: กรณีศึกษาพื้นที่บ้านฝั่งท่า หมู่ 5 ตำบลวังก์พง อำเภอปราณบุรี จังหวัดเพชรบุรี. (วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาชนบทศึกษาและการพัฒนา, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์).

[12] อมรา อินทรจักร.(2550). ปัจจัยสู่ความสำเร็จในการจัดการธุรกิจท่องเที่ยวโดยชุมชน บ้านศรีดงเย็น ตำบลช้าง อำเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่. (วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการนันทนาการและการท่องเที่ยว, มหาวิทยาลัยแม่โจ้).

[13] วีระพล ทองมา. (2558). การท่องเที่ยวโดยชุมชน (Community-Based Tourism: CBT) สำหรับการพัฒนาคุณภาพชีวิตของชุมชนในเขตที่ดินป่าไม้. เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยแม่โจ้.

[14] พิศมัย จารุจิตติพันธ์. (2557). ศักยภาพของการพัฒนาการท่องเที่ยวในเกาะสมุย (รายงานการวิจัย). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

[15] บุญธรรม ข่าขันมะณี. (2559). แนวคิดการจัดการแหล่งท่องเที่ยวโดยชุมชน. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 13 (น.2487). นครปฐม: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2017-12-31