อิทธิพลของความผูกพันในงานที่มีต่อผลการปฏิบัติงานของพนักงานอุตสาหกรรม เครื่องหนังและรองเท้าในอาเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี โดยมีความพึงพอใจในงานเป็นตัวแปรส่งผ่าน

ผู้แต่ง

  • ภัสราพร แก้วบ้านฝาย หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์
  • สุมาลี รามนัฏ หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์

คำสำคัญ:

ความผูกพันในงาน, ความพึงพอใจในงาน, ผลการปฏิบัติงานของพนักงาน, ตัวแบบสมการโครงสร้าง

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาความผูกพันในงาน และผลการปฏิบัติงานของพนักงานอุตสาหกรรมเครื่องหนังและรองเท้าในอาเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี 2) ศึกษาถึงความพึงพอใจในงานที่เป็นปัจจัยคั่นกลางเชื่อมโยงระหว่าง ความผูกพันในงานกับผลการปฏิบัติงานของพนักงานอุตสาหกรรมเครื่องหนังและรองเท้าในอาเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี โดยกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ พนักงานอุตสาหกรรมเครื่องหนังและรองเท้าในอาเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี จานวนทั้งสิ้น 3,015 คน สถิติที่ใช้ในการวิจัยเป็นการวิเคราะห์ตัวแบบสมการโครงสร้างด้วยโปรแกรม PLS Graph 3.0
ผลการศึกษาพบว่า ความผูกพันในงาน ความพึงพอใจในงาน และผลการปฏิบัติงานของพนักงานมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก ส่วนผลการวิเคราะห์ตัวแบบสมการโครงสร้างที่มีอิทธิพลต่อผลการปฏิบัติงานของพนักงาน พบว่า ความพึงพอใจในงานที่เป็นปัจจัยคั่นกลางเชื่อมโยงระหว่างความผูกพันในงานกับผลการปฏิบัติงานของพนักงานมีผลกระทบต่ออุตสาหกรรมเครื่องหนังและรองเท้าในอาเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี
คาหลัก : ความผูกพันในงาน, ความพึงพอใจในงาน, ผลการปฏิบัติงานของพนักงาน, ตัวแบบสมการโครงสร้าง

References

นงค์เยาว์ คงได้. (2557). การศึกษาประสิทธิภาพการบริหารเงินของสหกรณ์ออมทรัพย์ครูแพร่ จากัด. ค้นเมื่อ 25 ธันวาคม 2557, จาก https://www.ptscoop.com/

ปรียา แย้มชื่นใจ. (2551). ความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของครูวิทยาลัยเทคนิคเพชรบุรี จังหวัดเพชรบุรี. ปริญญานิพนธ์ บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต. (การจัดการ).กรุงเทพมหานคร: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต. ถ่ายเอกสาร.

ศูนย์สารสนเทศเศรษฐกิจอุตสาหกรรม, https:// www.oie.go.th/ academic/index

สำนักส่งเสริมการค้าสินค้าไลฟ์สไตล์ กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ พฤษภาคม 2560, https:// www.thaitextile.org/index.php/blog/2017/05/26525601055

สุพิชญ์ สุวกุล, สัมภาษณ์, 22 กุมภาพันธ์ 2553. https://www.thaitextile.org/index.php/blog/2017/02/thti0902201703

Kahn, W. (1990). Psychological conditions of personal engagement and disengagement at work. Academy of Management Journal, 33, 692-724.

Schaufeli, W.B., et al. (2002). The measurement of engagement and burnout: A two-sample confirmatory factor analytic approach. Journal of Happiness Studies, 3, 71-93.

Macey, William H. and Schneider, B. (2008) 'The Meaning of Employee Engagement', Industrial and Organizational Psychology, Volume 1, Issue 1, 3-30.

Luthans, F. (2005). Organisational behaviour. (10th ed.) New York: McGraw Hill Irwin , 211-212.

Steers, R.M. and L.W. Porter (1983) Motivation and Work Behavior. 3rd ed. New York : McGraw–Hill

Peter Boxall (2013) Mutuality in the management of human resources: assessing thequality of alignment in employment relationships. Human Resource Management Journal.23 (1),3-17.

Taro Yamane. (1973). Statistics: An Introductory Analysis.3rdEd.New York.Harper and Row Publications.

Meyer, J. P.; Allen, N. J. (1991). "A three-component conceptualization of organizational commitment". Human Resource Management Review. 1: 61.

Gilmer, B.V. (1971). Applied Psychology. New York : McGrw-Hill.

Mathis, R. J., Jackson, J. H. (2003). Human Resource Management. 10th ed. Mason, Ohio: Thomson Learning South Western.

Likert, R. (1932). A technique for the measurement of attitudes. Archives of Psychology, 22(140), 1–55.

Chin, W. W. (2001). PLS-Graph User’s Guide Version 3.0. C. T. Bauer College of Business, University of Houston, Houston, Texas.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2018-09-01