ปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจเลือกใช้บริการรถโดยสารสาธารณะพลังงานไฟฟ้า

ผู้แต่ง

  • ภาณุพงศ์ นันทสินธ์ คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
  • ดนัย นิลสุวรรณ คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
  • พรอนันต์ กิจอมรชัย คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
  • สิปปภาส สิริเกษมสุข คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
  • ศุภชัย เหมือนโพธิ์ คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
  • ดำรง ถาวร คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

คำสำคัญ:

รถโดยสารสาธารณะ, พลังงานไฟฟ้า

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจเลือกใช้บริการรถโดยสารสาธารณะพลังงานไฟฟ้า และ (2) เปรียบเทียบปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจใช้บริการรถโดยสารสาธารณะพลังงานไฟฟ้าตามปัจจัยส่วนบุคคล เป็น การวิจัยเชิงปริมาณ โดยใช้แบบสอบถาม กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ที่เคยใช้บริการรถโดยสารสาธารณะ จานวน 400 คน สถิติที่ใช้ ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน t-test และ One way ANOVA ผลการศึกษาพบว่า ส่วนประสมทางการตลาดด้านราคา ด้านการส่งเสริมทางการตลาด และด้านสภาพแวดล้อมในการให้บริการมีแนวโน้มการตัดสินใจใช้บริการรถโดยสารสาธารณะพลังงานไฟฟ้า หากผู้บริโภคมีความรู้เกี่ยวกับรถพลังงานไฟฟ้าแล้วจะเลือกใช้บริการรถพลังงานไฟฟ้าสามารถช่วยลดปัญหาด้านมลพิษทางอากาศ และการสนับสนุนโครงการรถพลังงานไฟฟ้ามีความพึงพอใจมากที่สุด

References

กลุ่มสถิติการขนส่งกองแผนงานกรมการขนส่งทางบก. (2561). สถิติจานวนรถที่จดทะเบียนสะสมทั่วประเทศ. (ออนไลน์). https://web.dlt.go.th/statistics/. วันที่ 20 ตุลาคม 2561.

กิตติพงศ์ ชัยกิตติภรณ์ และอุบลวรรณา ภวกานันท์. (2558). การพัฒนาการให้บริการรถโดยสารประจาทางขององค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ (ขสมก.). วารสารรัฐประศาสนศาสตร์. 14(1), 155-179.

ชฎาพร แนบชิด และกาญจนาภรณ์ นิล จินดา. (2559). ความพึงพอใจในการใช้บริการรถขนส่ง สาธารณะ(รถเมล์เหลือง) อาเภอเมือง จังหวัดสกลนคร. รายงานการประชุมวิชาการระดับชาติ “วิทยาการจัดการวิชาการ 2016 วิจัยบูรณาการสู่สังคมอาเซียนและสากล”.

ชัยณรงค์ ทรายคา. (2552). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซื้อรถยนต์ส่วนบุคคลของผู้บริโภคในจังหวัดลาพูน. ปริญญาวิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาการจัดการอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

ณรงค์ ป้อมหลักทอง และคณะ. (2556). แผนงาน การสังเคราะห์เชิงนโยบายงานวิจัย ด้านการบริหารจัดการโครงสร้างพื้นฐานระบบขนส่งและโลจิสติกส์ ภายใต้บริบทประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน. กรุงเทพมหานคร: สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย.

ประยูร ช่วยแก้ว. (2561). เครื่องอีทิกเก็ต. https://www. matichon.co.th/news-monitor/news_670076 /attachment/นายประยูร-ช่วยแก้ว-รักษา. วันที่ 20 ตุลาคม 2561.

พิทยาภรณ์ วงษ์กิตติวัฒน์. (2560). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อ การตัดสินใจซื้อรถยนต์ไฟฟ้าของผู้บริโภควัยทางานในกรุงเทพมหานคร. การค้นคว้าอิสระปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณพิต มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.

ยุพาวรรณ วรรณวาณิชย์. (2548). การตลาดบริการ. กรุงเทพมหานคร : สานักพิมพ์เกษตรศาสตร์.

ศิริวรรณ เสรีรัตน์. (2541). การบริหารเชิงกลยุทธ์. กรุงเทพมหานคร: พัฒนศึกษา..
สานักงานนโยบายและแผนพลังงาน. (2561). จานวนรถโดยสารภายในประเทศ. (ออนไลน์). http://www. eppo.go.th/index.php/th/. วันที่ 20 ตุลาคม 2561.

Kotler and Keller. (2012). Marketing Management. Edition, Edinburgh Gate: Pearson Education Limited.

Yamane Taro. (1967). Statistic: An Introductory Analysis. New York: Harpe & row.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2018-09-01