ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซื้อซ้้าสินค้าอุปโภคบริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร
คำสำคัญ:
สินค้าอุปโภคบริโภค, การซื้อซ้้า, การตัดสินใจซื้อบทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาแนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการตัดสินใจซื้อซ้้าของสินค้าอุปโภคบริโภค และ (2) ศึกษาปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซื้อซ้้าสินค้าอุปโภคบริโภค โดยใช้แบบสอบถาม กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ที่ซื้อซ้้าสินค้าอุปโภคบริโภคในเขตกรุงเทพมหานครจ้านวน 400 คน โดยวิเคราะห์ข้อมูลเชิงสถิติบรรยาย และสถิติเชิงอนุมานในการทดสอบสมมติฐาน ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง (ร้อยละ 66) อายุระหว่าง 21-30 ปี (ร้อยละ 40) รายได้เฉลี่ยต่อเดือน 5,001-10,000 บาท (ร้อยละ 28) ผลการทดสอบสมมติฐานพบว่า ส่วนประสมทางการตลาดที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซื้อซ้้าสินค้าอุปโภคบริโภค อย่างมีนัยส้าคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
References
ฉัตยาพร เสมอใจ. (2555). พฤติกรรมผู้บริโภค. กรุงเทพมหานคร : บริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่น จ้ากัด.
ธัญรัศม์ ภัคคะสิริวัฒน์. (2558). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการซื้อสินค้าอุปโภคบริโภคทางอินเตอร์เน็ต ส้าหรับซูเปอร์เซนเตอร์. การค้นคว้าอิสระเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ยุพาวรรณ วรรณวาณิชย์. (2548). การตลาดบริการ. กรุงเทพมหานคร: ส้านักพิมพ์เกษตรศาสตร์.
ลัทธพล วีระยุทธบัญชา และนิเวศน์ ธรรมะ. (2556). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการซื้อซ้้าของผู้บริโภคกาแฟสดยี่ห้อสตาร์บัคส์ในเขตกรุงเทพฯและปริมณฑล. วารสารการตลาดและการสื่อสาร 1(2): เมษายน–มิถุนายน.
ศิริวรรณ เสรีรัตน์ และคณะ. (2556). พฤติกรรมผู้บริโภค. กรุงเทพมหานคร: ไทยวัฒนาพานิชย์.
เสรี วงษ์มณฑา. (2542). กลยุทธ์ทางการตลาด: แผนทางการตลาด. กรุงเทพมหานคร: ไดมอนด์ อิน บิชซิเนส เวริด์.
อดุลย์ จาตุรงคกุล. (2539). พฤติกรรมผู้บริโภค. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
Kim, Galliers, Shin, Han & Kim. (2012). Factors influencing internet shopping value and customer repurchase intention. Electronic Commerce Research and applications, 11(4), 374 - 387.
Yamane Taro. (1967). Statistic: An Introductory Analysis. New York: Harpe & row