โค้ชด้านการศึกษาตามแนวทางพระพุทธศาสนาในศตวรรษที่ 21

ผู้แต่ง

  • จันทิมา แสงแพร คณะศาสนาและปรัชญา มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย
  • พระบุญช่วย ฐิตจิตฺโต (ยังสามารถ)
  • พระครูปลัดสุวัฒน์ สุวฑฺฒโน (แซ่ตั้ง)
  • พระมหาจักรพล อาจารสุโภ (เทพา)

คำสำคัญ:

โค้ช, พระพุทธศาสนา, ศตวรรษที่21

บทคัดย่อ

บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอแนวทางการเป็นโค้ชด้านการศึกษาตามแนวทางพระพุทธศาสนาในศตวรรษที่ 21 ซึ่งเป็นบทบาทใหม่ของครูที่ได้เปลี่ยนแปลงให้เข้ากับยุคสมัยใหม่ที่นักศึกษาเป็นศูนย์กลางครูลดบทบาทการเป็นผู้สอนแต่เป็นผู้ให้คำแนะนำและส่งเสริมการเรียนรู้ตามความสนใจและถนันของนักศึกษาในฐานะโค้ชมากขึ้น การศึกษาและถกเทียงในวงวิชาการจนนำมาซึ่งการนำเสนอแนวทางนี้บนพื้นฐานตามแนวทางพระพุทธศาสนาให้เป็นองค์ความรู้เน้นการพัฒนาระบบการศึกษาให้ทันสมัยเข้ากับยุค การวิเคราะห์และสังเคราะห์องความรู้ได้เป็น model ทักษะหรือความเชี่ยวชาญของการเป็นโค้ชมืออาชีพตามแนวพุทธศาสนาคือ “MERA MODEL” ประกอบด้วย M - Manangement คือ การบริหารจัดการทรัพยากรการเรียนรู้ เพื่อเตรียมความพร้อมใน 4 ด้าน คือ ผู้รับการฝึก (coachee), ผู้ฝึก (coacher), เนื้อหา (content) และอุปกรณ์ (material), E - Equilibration คือ การสร้างความสมดุลของเป้าหมายการฝึกให้สมบูรณ์พร้อมทั้งความรู้ (knowledge) และคุณธรรม (moral), R - Realization คือ การทำให้เข้าใจและเห็นจริงจากทักษะด้านการถ่ายทอดที่ทำให้ง่าย (simplify) และทำให้เห็นจริง (manifest), A – Adversity คือ ความสามารถฝ่าฟันอุปสรรค โดยใช้ทักษะการตัดสินใจแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าทั้งปัญหาที่คาดการณ์ไว้แล้ว (expected problem) และปัญหาที่คาดการณ์ไม่ถึง  (unexpected problem)

 

 

References

งามตา ธนานันทสูตร, วิทยา ศักยาภินันท์, และ ธเนศ ปานหัวไผ่. (2560). การศึกษาวิเคราะห์มหาปุริสลักษณะในพระพุทธศาสนาเถรวาทด้วยหลักกายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยา. Mahamakut Graduate School Journal, 16(2), 14-28.

มนัสวี ศรีนนท์. (2560). วิเคราะห์หลักการเรียนการสอนตามนัยพระพุทธศาสนา. วารสารศึกษาศาสตร์ มมร, 5(1), 122-132.

มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. พระไตรปิฎกฉบับออนไลน์. สืบค้นเมื่อ 5 เมษายน 2564, จาก

https://84000.org.

นางผ่องใส ถาวรจักร. (2554). การจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญของวิทยาลัยราชพฤกษ์ ภาคการศึกษาที่ 2 ปีการศึกษา 2553.รายงานการวิจัย. นนทบุรี: สำนักวิชาการ วิทยาลัยราชพฤกษ์.

พระมหา นรินทร์ เอมพันธ์. (2021). บทความวิชาการการพัฒนาจริยธรรมของผู้นำตามหลักสัปปุริสธรรม. วารสารวิชาการแสงอีสาน, 18(1), 63-76.

พระมหา พรชัย สิริวโร. (2016). วิธีการของพระพุทธเจ้า. วารสารวนัมฎองแหรกพุทธศาสตรปริทรรศน์, 3(1), 14-18.

วิจารณ์ พานิช. (2555). วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21, กรุงเทพฯ: ตถตา พับลิเคชั่น.

วิจารณ์ พานิช. (ม.ป.ป.). การสร้างการเรียนรู้สู่ศตวรรษที่ 21, สืบค้นเมื่อ 5 เมษายน 2564, จาก http://www.scbfoundation.com.

สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป.อ.ปยุตฺโต). (2561). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม. (พิมพ์ครั้งที่ 41). กรุงเทพฯ : เพ็ทแอนด์โฮม.

สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป.อ.ปยุตฺโต), (2562), พุทธวิธีในการสอน. (พิมพ์ครั้งที่ 25), กรุงเทพฯ: โอ เอส พริ้นติ้ง เฮ้าส์.

เสถียรพงษ์ วรรณปก. พุทธวิธีการสอนในพระไตรปิฎกผู้สอน : คุณสมบัติที่พึงประสงค์ ตอนที่ 5, มติชนสุดสัปดาห์, (11 เมษายน 2564), จาก http://www.MATICHON WEEKLY.com.

อุทัยวร เมธีศรีสกุล, ชอบดี สวนโคก, อนุสรณ์ นางทะราช, สิทธิพล เวียงคำ, สุภาพร บัวช่วย, & สาครศรี ระวรรณ. (2018). พุทธวิธีการเรียนการสอน. Journal of Graduate MCU KhonKaen Campus, 5(1), 71-81.

อรฤทัย อับดุลหละ, สุปรีชา แก้วสวัสดิ์, พัฒนศักดิ์ คำมณีจันทร์ และ คูง็อคลีย์ง็อคลีย์. (2564). การ สำรวจนวัตกรรม การ เรียนการสอนที่เป็นเลิศเพื่อการเปลี่ยนแปลงกระบวนการเรียนรู้ของบุคลากรที่สอนด้านสาธารณสุขของมหาวิทยาลัยในประเทศไทย. วารสารวิจัยทางการศึกษาคณะศึกษา ศาสตร์ มศว., 16(1).

Burns, L., & Gillon, E. (2011). Developing a teaching agenda for coaching psychology in undergraduate programmes. The Coaching Psychologist, 7(2), 90-97.

Dantawongso, P., Manmee, T., & Krasang, A. (2018). Six Caritas The Coordination Theory of The Lord Buddha. Journal of MCU Alumni Association, 7(2), 29-44.

Gómez-Ejerique, C., & López-Cantos, F. (2019). Application of innovative teaching-learning methodologies in the classroom. Coaching, flippedclassroom and gamification. A case study of success.

Phramaha Aekachai Visudtho. (2021). Buddhist Methods of Teaching Social Studies in The 21st Century. Journal of Buddhist Education and Research. 7(2),

Teerapat, (2558), องค์ประกอบการจัดการเรียนรู้, สืบค้นเมื่อ 5/4/2564, จาก

http://tmteerapat .blogspot.com/2015/07/blog-post.html.

Visudtho, P. A. (2021). Buddhist Methods of Teaching Social Studies in the 21st Century. Journal of Buddhist Education and Research, 7(2).

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-01-04 — Updated on 2022-01-27

Versions