การปฏิบัติกรรมฐานเพื่อบำบัดความเครียด
คำสำคัญ:
การปฏิบัติกรรมฐาน, การบำบัด, ความเครียดบทคัดย่อ
บทความนี้มีวัตถุประสงค์ 3 ข้อ คือ 1) เพื่อศึกษาการปฏิบัติกรรมฐาน 2) เพื่อศึกษาสาเหตุของความเครียด และ 3) ศึกษาการปฏิบัติกรรมฐานเพื่อบำบัดความเครียด ผลการศึกษาพบว่า กรรมฐาน หมายถึงวิธีการฝึกหัดจิตหรือการอบรมจิตให้สงบ และมีความสว่างปัญญาจากความทุกข์ที่เกิดขึ้น การเจริญกรรมฐานอย่างสม่ำเสมอ จะช่วยให้ร่างกายและจิตของผู้ปฏิบัติมีสุขภาวะที่ดี และควรเจริญในตนเป็นอย่างยิ่ง สำหรับความเครียดเกิดจากสาเหตุหลายอย่าง เมื่อเกิดขึ้นแล้วมีผลกระทบด้านร่างกายและจิตใจ ควรรีบหาวิธีบำบัดรักษา เพื่อไม่ให้เกิดความร้ายแรงต่อร่างกายและจิตใจ และการบำบัดความเครียดด้วยวิธีการปฏิบัติกรรมฐาน เป็นวิธีการหนึ่งในทางพระพุทธศาสนา การปฏิบัติกรรมฐานจะช่วยบริหารจิตให้อยู่กับปัจจุบัน มีความสงบนิ่ง ไม่ฟุ้งซ่าน ไม่กระวนกระวาย ทำให้จิตมีความสุข การปฏิบัติกรรมฐาน จึงเป็นวิธีการที่มีผลโดยตรงต่อการบำบัดรักษาความเครียดของมนุษย์ได้เป็นอย่างดี เมื่อสุขภาพจิตดีก็จะส่งผลให้สุขภาพกายดีไปด้วย ฉะนั้น การบำบัดรักษาด้วยการปฏิบัติกรรมฐาน จึงเป็นอีกหนึ่งวิธีที่จะสามารถช่วยให้สุขภาวะจิตเป็นปกติ โดยใช้ความเพียรพยาม ความอดทน นำไปสู่ภาวะการปล่อยวางหรือความไม่ยึดมั่นถือมั่นในสิ่งที่เกิดขึ้น และการฝึกฝนเรียนรู้อยู่กับความเป็นจริงในปัจจุบัน
References
กนกรัตน์ สายเชื้อ. (2536). “ความเครียดในการปฏิบัติงานการเงินและบัญชีของครูโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสานักงานการประถมศึกษา จังหวัดมุกดาหาร”, วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มหาสารคาม.
กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข. (2540). คู่มือคลายเครียด, นนทบุรี: กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข.
กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข. (2542). คู่มือคลายเครียดด้วยตนเอง, กรุงเทพมหานคร: กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข.
กันธัชกร โบว์แดง. เบญจวรรณ บุณยะประพันธ์ และ ราชันย์ บุญธิมา. (2558). การฝึกสมาธิแบบอานาปานสติที่มีผลต่อความเครียดในการทำงานของพนักงานบัญชี, วารสารวิชาการศิลปศาสตร์ประยุกต์ กรกฎาคม-ธันวาคม 2558)
ชูทิตย์ ปานปรีชา. (2539). “ความเครียด” ใน จิตวิทยาทั่วไป, นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
ชูทิตย์ ปานปรีชา. (2539). จิตวิทยาทั่วไป, กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
ดวงมณี จงรักษ์. (2549). ทฤษฎีการให้การปรึกษาและจิตบำบัดเบื้องต้น, กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์ ส.ส.ท.
ประชาชาติธุรกิจ. (2563). Gen Z ซมพิษ “โควิด-19” เศรษฐกิจพัง-งานหด. (ลงวันที่ 16 พฤษภาคม 2563 - 17:10 น.) สืบค้นเมื่อ 18 กรกฎาคม 2564, จาก .
ปัณณวัฒน์. (2548). ฝึกสมาธิอย่างง่าย ๆ คลายทุกข์มีสติ, กรุงเทพมหานคร: บริษัท ไพลินบุ๊คเน็ต จำกัด.
ผุสดี โตสวัสดิ์. การบำบัดรักษาโรคด้วยวิธีการปฏิบัติกรรมฐาน. วารสารปรัชญาปริทรรศน์.24(2) 1-17
พรมงคล ฉันท์รัตนโยธิน.(2561) สมาธิ และพุทธจิต ช่วยบำบัดความเครียด, วารสารพุทธจิตวิทยา 3(2) 57-64
พระครูวิโรจน์กาญจนเขต และ พระครูสิริกาญจนาภิรักษ์.(2563) วิปัสสนากรรมฐานเพิ่มพลังจิตสู้ภัยโควิด 19 : บทเรียนจากองค์ดาไลลามะ. วารสารศิลปการจัดการ, 4(2). 409-418
พระเทพเวที (ประยุทธ์ ปยุตฺโต). (2535). พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์, กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต). (2542). พุทธธรรม. (พิมพ์ครั้งที่ 8), กรุงเทพมหานคร: มูลนิธิพุทธธรรม.
พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต).. (2538). พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์. (พิมพ์ครั้งที่ 9), กรุงเทพมหานคร: สหธรรมิก,.
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต). (2552). พุทธธรรม. (พิมพ์ครั้งที่ 15), กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ บริษัท สหธรรมิก จำกัด.
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต). (2557). พุทธธรรม ฉบับปรับขยาย. (พิมพ์ครั้งที่ 39), กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พระราชสังวรญาณ (พุธ ฐานิโย). (2540). ธรรมปฏิบัติและตอบปัญหาการปฏิบัติธรรม. (พิมพ์ครั้งที่ 2), กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย.
พระวิจิตรธรรมาภรณ์ (เทอด ญาณวชิโร). (2552). สมาธิเบื้องต้นสำหรับชาวบ้าน, กรุงเทพฯ: แม็บบุค.
พะยอม อิงคตานุวัฒน์. (2535). ศัทพ์ทางจิตเวช, กรุงเทพมหานคร: ไพศาลศิลป์การพิมพ์.
มนูญ ตนะวัฒนา. (2537). การบริหารความเครียด, กรุงเทพมหานคร: ธีรพงษ์การพิมพ์.
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2535). พระไตรปิฎกภาษาบาลี ฉบับมหาจุฬาเตปิฏกํ 2500, กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
มานิต มานิตเจริญ. (2509). พจนานุกรมไทย. (พิมพ์ครั้งที่ 3), กรุงเทพฯ: บริษัทแพร่พิทยาวังบูรพา.
ยุทธชัย กิตติโยธิน. (2545) “ความเครียดและวิธีลดความเครียดของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายแห่งหนึ่งในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ”. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต, สาขาวิชาจิตวิทยาการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
โยสไตน์ เบอร์เดอร์. (สายพิณ ศุพุทธมงคล (แปล). (2545). โลกของโซฟี, กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์คบไฟ.
วรวุฒิ อินทนนท์. การเปรียบเทียบการเรียนรู้อย่างมีความสุขของนักศึกษาที่ได้รับการฝึกสมาธิ แบบอานาปานสติ และนักศึกษาที่เรียนตามปกติของนักศึกษาชั้นปีที่ 1 คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนครพนมวารสารมหาวิทยาลัยนครพนม, 1(1)
วริยา ชินวรรโณ และคณะ. (2548). สมาธิในพระไตรปิฎกวิวัฒนาการการตีความคาสอนเรื่องสมาธิในพระพุทธศาสนา ฝ่ายเถรวาทในประเทศไทย, กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
วิไล ตั้งจิตสมคิด. (2539). การศึกษาไทย, กรุงเทพมหานคร: โอเดียนสโตร์.
สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก (เจริญ สุวฑฺฒโน). (2558).การปฏิบัติอบรมจิต. (พิมพ์ครั้งที่ 2), กรุงเทพฯ: ห้างหุนส่วนจํากัด โรงพิมพ์สุรวัฒน์.
สมาน บุญยารักษ์. (2526). พจนานุกรมอภิธรรม 7 คัมภีร์, กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์อักษรสาสน์.
สุจิตรา อ่อนค้อม. (2547). การฝึกสมาธิ. (พิมพ์ครั้งที่ 8), กรุงเทพฯ: ดับเบิ้ลนายน์.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
Versions
- 2022-02-08 (3)
- 2022-02-03 (2)
- 2022-02-03 (1)