อิทธิพลของความเครียด และภาวะซึมเศร้า ต่อการตัดสินใจลาออกกลางคัน และ การจัดการความเครียดในนักศึกษาระดับปริญญาตรี คณะอุตสาหกรรมบริการ วิทยาลัยดุสิตธานี กรุงเทพฯ

ผู้แต่ง

  • ธัญญาณัฏฐ กิตติจินดาวงศ์ หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต วิทยาลัยดุสิตธานี
  • พรพรหม สุธาทร

คำสำคัญ:

ความเครียด, ภาวะซึมเศร้า, การลาออกกลางคัน, แนวทางการจัดการความเครียด

บทคัดย่อ

บทคัดย่อ

          การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบความชุกของความเครียดและภาวะซึมเศร้า ศึกษาอิทธิพลของความเครียดและภาวะซึมเศร้าต่อการตัดสินใจลาออก และศึกษาปัจจัยการจัดการความเครียดจากกลุ่มตัวอย่างนักศึกษาระดับปริญญาตรี คณะอุตสาหกรรมบริการ วิทยาลัยดุสิตธานี กรุงเทพฯ ที่คาดว่าจะลงทะเบียนภาคการศึกษาที่ 2 ปีการศึกษา 2564 ชั้นปีที่ 1-4 ผ่านการใช้แบบสอบถามออนไลน์ (Microsoft Form) เป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล จำนวน 416 คน

          ผลการวิจัยพบว่า นักศึกษาส่วนใหญ่รับรู้ความรู้สึกเครียดระดับปานกลาง รับรู้อาการซึมเศร้าระดับเล็กน้อย และมีความตั้งใจศึกษาให้สำเร็จ ขณะที่บางส่วนมีความตั้งใจที่จะออกกลางคันระดับสูง ด้านแนวทางการจัดการความเครียด พบว่า ส่วนใหญ่มีกลยุทธ์การจัดการความเครียดระดับปานกลาง รับรู้ความช่วยเหลือทางสังคมระดับสูง และมีความฉลาดทางจิตวิญญาณระดับสูง พร้อมนี้ พบว่า ระดับความเครียดที่แตกต่างกันส่งผลต่อการเกิดภาวะซึมเศร้าในนักศึกษาแตกต่างกัน (β = 0.242, R2 = 0.271) และความเครียดมีอิทธิพลต่อการตัดสินใจลาออกกลางคันในนักศึกษา (β = -0.104, R2 = 0.329) ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติเท่ากับ 0.05

References

กรมสุขภาพจิต. (2550). แบบประเมินความเครียด กรมสุขภาพจิต (SPST-20). (ออนไลน์). ค้นเมื่อ 20 ตุลาคม

, จาก : http://envocc.ddc.moph.go.th./contents/view/697

กรมสุขภาพจิต. (2562). "โรคซึมเศร้า" ทำใจพัง เช็กลิสต์สาเหตุและอาการ. (ออนไลน์). ค้นเมื่อ 15 ตุลาคม 2564,

จาก : https://www.dmh.go.th/news-dmh/view.asp?id=30114

กรมสุขภาพจิต. (2563). ผ่า 4 กลุ่มความเครียดที่กระทบสุขภาพ เครียดแบบเราจัดอยู่กลุ่มไหน ?. (ออนไลน์).

ค้นเมื่อ 10 ตุลาคม 2564, จาก : https://www.dmh.go.th/news-dmh/view.asp?id=30321

ธนาคารเกียรตินาคินภัทร. (พฤศจิกายน 2564). เมื่ออุตสาหกรรมแข่งไม่ไหวหรือภาคบริการคือทางออกของไทย. (ออนไลน์). ค้นเมื่อ 19 เมษายน 2565, จาก : https://advicecenter.kkpfg.com/en/money-lifestyle

/money/economic-trend/service-sector-analysis

ธัญญ์พิชชา ท้วมทับ, หยกแก้ว กมลวรเดช, สุกัญญา รุจิเมธาภาส และสุกัญญา รุจิเมธาภาส. (2563). แนวทางการ

ป้องกันการออกกลางคันของนักศึกษากลุ่มเสี่ยง กรณีศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคอุตรดิตถ์. วารสารมหาจุฬา

นาครทรรศน์, 7(6).

โปรยทิพย์ สันตะพันธุ์, ศิริญพร บุสหงส์ และเชาวลิต ศรีเสริม. (2562). ภาวะซึมเศร้าในวัยรุ่น : บทบาทพยาบาล.

วารสารเกื้อการุณย์, 26(1), 187-199.

วิทยาลัยดุสิตธานี. (2563ก). รายงานการประชุมคณะกรรมการพิจารณาเรื่องเกี่ยวกับกิจการวิชาการ ครั้งที่

/2563, วันที่ 11 กันยายน 2563, กรุงเทพมหานครฯ: ผู้แต่ง.

วิทยาลัยดุสิตธานี. (2563ข). รายงานประชุมคณะกรรมการพิจารณาเรื่องเกี่ยวกับกิจการวิชาการ ครั้งที่ 9/2563,

วันที่ 9 ธันวาคม 2563, กรุงเทพมหานครฯ: ผู้แต่ง.

วิทยาลัยดุสิตธานี. (2564ก). รายงานการประชุมคณะกรรมการพิจารณาเรื่องเกี่ยวกับกิจการวิชาการ ครั้งที่

/2564, วันที่ 17 มิถุนายน 2564, กรุงเทพมหานครฯ: ผู้แต่ง.

วิทยาลัยดุสิตธานี. (2565ก). รายงานการประชุมคณะกรรมการพิจารณาเรื่องเกี่ยวกับกิจการวิชาการ ครั้งที่

/2565, วันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2565, กรุงเทพมหานครฯ: ผู้แต่ง.

วิทยาลัยดุสิตธานี. (2565ข). การประชุมคณะกรรมการพิจารณาเรื่องเกี่ยวกับกิจการวิชาการ ครั้งที่ 4/2565,

วันที่ 5 เมษายน 2565, กรุงเทพมหานครฯ: ผู้แต่ง.

ศรีจันทร์ พรจิราศิลป์ และชญานุตม์ นิรมร. (2554). ความเครียดและวิธีการแก้ความเครียด. (ออนไลน์).

ค้นเมื่อ 10 ตุลาคม 2564, จาก : https://pharmacy.mahidol.ac.th/knowledge/files/0047.pdf

สุดารัตน์ พิมลรัตนกานต์. (2558). การศึกษาสาเหตุการลาออกกลางคันของนักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตร

วิชาชีพและหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงกรณีศึกษา : วิทยาลัยเทคโนโลยีวิบูลย์บริหารธุรกิจ รามอินทรา เขตบางเขน กรุงเทพมหานคร. วารสารวิทยาลัยโลจิสติกส์และซัพพลายเชน, 1(1).

อัญมณี มณีนิล. (2563). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อภาวะซึมเศร้าของวัยรุ่นตอนปลาย. วิทยานิพนธ์ สาขาวิชาการ

พยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช, คณะพยาบาลศาสตร์, มหาวิทยาลัยบูรพา.

Åsberg, M., Nygren, A., Leopardi, R., Rylander, G., Peterson, U., et al. (2009). Novel biochemical

markers of psychosocial stress in women. PLoS ONE, 4(1). Retrieved October 21, 2021.

From: https://doi.org/10.1371/journal.pone.0003590

Bakker, B. A., & Demerouti, E. (2014). Job Demands-Resources Theory. Work and Wellbeing:

A Complete Reference Guide, 3. United States: Wiley-Blackwell.

Bartolomucci, A., & Leopardi, R. (2009). Stress and Depression : Preclinical Research and Clinical

Implications. PLoS ONE, 4(1). Retrieved October 17, 2021. From:

https://doi.org/10.1371/journal.pone.0004265

Carver, C. S. (1997). You want to measure coping, but your protocol is too long: Consider the brief

cope. International journal of behavioral medicine, 4(1), 92-100.

Cohen, S., Kamarck, T., & Mermelstein, R. (1983). A global measure of perceived stress. Journal of

Health and Social Behavior, 24, 386-396.

Cooper J. (2021 July). Stress and Depression. Retrieved October 16, 2021. From:

https://www.webmd.com/depression/features/stress-depression

Renner H. (2018 August). Depression and Stress Management. Retrieved October 16, 2021. From:

https://www.healthline.com/health/depression/stress-management

Martin, E. K. (2017). Depression. Lundbeck, Switzerland.

Nixdorf, I., Beckmann, J., & Nixdorf, R. (2020). Psychological Predictors for Depression and Burnout

Among German Junior Elite Athletes. Frontiers in Psychology, 11. Retrieved October 17,

From: https://doi.org/10.3389/fpsyg.2020.00601

Richard, S. L., & Susan, F. (1984). Stress, Appraisal, and Coping. New York: Springer.

Tamin S. K. (2013). Relevance of mental health issues in university student dropouts. Occupational

Medicine, 63, 410-414.

Tarekegne, W. M. (2015). Challenges students’ face in their transition from primary to secondary

school and the interventions schools take to ease the transition. Educational Research and Reviews, 10(5), 622-633.

Vaez, M., Rylander, G., Nygren, A., Asberg, M., & Alexanderson, K. (2007). Sickness absence and

disability pension in a cohort of employees initially on long-term sick leave due to

psychiatric disorders in Sweden. Soc Psychiatry Psychiatr Epidemiol, 42, 381-388.

World Health Organization. (2017). Depression and Other Common Mental Disorders : Global

Health Estimates. (WHO/MSD/MER/2017.2).

Yerkes, R. M., & Dodson, J. D. (1908). The Relation of Strength of Stimulus to Rapidity of Habit-

Formation. Journal of Comparative Neurology and Psychology, 18, 459-482.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-06-16