การมีส่วนร่วมและความร่วมมือในการจัดการสิ่งแวดล้อม
คำสำคัญ:
การมีส่วนร่วม, ความร่วมมือ, การจัดการสิ่งแวดล้อมบทคัดย่อ
บทความเรื่อง การมีส่วนร่วมและความร่วมมือในการจัดการสิ่งแวดล้อม เป็นการอภิปรายประเด็นการมีส่วนร่วมในการจัดการสิ่งแวดล้อม บทความนี้ได้ทบทวนแนวคิดทฤษฎีต่าง ๆ มาร่วมวิเคราะห์ประกอบด้วย แนวคิดการจัดการสิ่งแวดล้อม แนวคิดการมีส่วนร่วม โดยนำแนวคิดต่าง ๆ มาประยุกต์ใช้กับการจัดการสิ่งแวดล้อมให้เข้ากับสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไปตามการพัฒนาบ้านเมืองและเทคโนโลยีที่ทันสมัยไม่สามารถจะหยุดนิ่งกับสิ่งที่กำลังเกิดขึ้นได้ จึงส่งผลให้เกิดปัญหาสิ่งแวดล้อมที่ทำให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพอันดับต้น ๆ ทั้งร่างกายที่ได้รับมลพิษและทางจิตใจ ดังนั้น การมีส่วนร่วมและความร่วมมือในการจัดการสิ่งแวดล้อม จึงเป็นพื้นฐานที่สำคัญอันดับแรก ในการเสริมสร้างจิตสำนึกรักและหวงแหนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของประเทศ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน จึงต้องประสานความร่วมมือกันเพื่อช่วยขับเคลื่อนการปฏิบัติงานในการจัดการสิ่งแวดล้อมให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด
References
คนางค์ คันธมธุรพจน์ และคณะ. (2561). เปรียบเทียบการมีส่วนร่วมของประชาชนในการประเมินผลกระทบ
สิ่งแวดล้อมระหว่างประเทศไทยและต่างประเทศ. วารสารการเมืองกาปกครอง ปีที่ 10 ฉบับที่ 1,108.
จุฑารัตน์ ชมพันธุ์. (2556). การมีส่วนร่วมของประชาชนในกระบวนการตัดสินใจในโครงการพัฒนา.
วารรสารการ จัดการสิ่งแวดล้อม, 9(1), 85-105.
ปาริชาติ วลัยเสถียร และคณะ. (2546). กระบวนการและเทคนิคการทำงานของนักพัฒนา. โครงการ
เสริมสร้าง ความรู้เพื่อชุมชนเป็นสุข (สรส.). กรุงเทพฯ. หน้า 348-387
พระมหาประพันธ์ สิริปญโญ. (2558). วิถีพุทธ : วิถีรักษ์สิ่งแวดล้อม. กรุงเทพมหานคร : มูลนิธิโกมลคีมทอง.
หน้า 14.
วินัย วีระวัฒนานนท์ และคณะ. (2540). สิ่งแวดล้อมศึกษาของกลุ่มประเทศอาเซียน-อินโดจีน. นครปฐม :
คณะสังคมศาสตร์และมนุษย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล. หน้า 185.
สมบัติ นามบุรี. (2562). ทฤษฎีการมีส่วนร่วมในงานรัฐประศาสนศาสตร์. วารสารวิจยวิชาการ ปีที่ 2 ฉบับที่
(5).
สมลักษณา ไชยเสริฐ. (2549). การพัฒนารูปแบบการมีส่วนร่วมของประชาชนในคณะกรรมการ ตรวจสอบ
และติดตามการบริหารงานตำรวจสถานีตำรวจนครบาล. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฎสวน
ดุสิต. หน้า 158-164.
สหชัย ชูอักษร. (2557). การบริหารจัดการมูลฝอยขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น กรณีศึกษาเทศบาลตำบล
โคกม่วง อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง (การค้นคว้าอิสระปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์).
มหาวิทยาลัยทักษิณ, สงขลา. หน้า 159-168
สุกาญจน์ รัตนเลิศนุสรณ์. (2550). หลักการจัดการสิ่งแวดล้อมแบบยั่งยืน. สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-
ญี่ปุ่น). หน้า 56-63.
สุธาวี กลิ่นอุบล. (2562). การศึกษาการมีส่วนร่วมของชุมชนต่อความสำเร็จในการพัฒนาชุมชนตามแนวทาง
ปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง บ้านหัวเขาจีน ตำบลห้วยยางโทน อำเภอปากท่อ จังหวัดราชบุรี. สาขา
วิชาพัฒนศึกษา ระดับปริญญาดุษฎีบัณฑิต ภาควิชาพื้นฐานทางการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยศิลปากร. หน้า 18.
เสาวคนธ์ เหลืองทองคำ, และเสรี วงษ์มณฑา. (2558) ลักษณะของการมีส่วนร่วม. วารสารวิชาการบัณฑิต
วิทยาลัยสวนดุสิต. 11(1), หน้า 19-29.
เสาวนีย์ เภรีฤกษ์. (2558). บทบาทขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเกี่ยวกับการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม.
กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา. หน้า 2
เสาวลักษณ์ ศักดิ์สิทธิ์. (2560). แนวทางการจัดการขยะมูลฝอยชุมชนในจังหวัดปทุมธานี (วิทยานิพนธ์ปริญญา
มหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์). สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, กรุงเทพฯ. หน้า 172-185.
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (2560). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
แห่งชาติฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2566–2570). สำนักงานนายกรัฐมนตรี.
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. (2566). จำนวนประชากรที่เพิ่มขึ้นส่งผล
กระทบต่อสิ่งแวดล้อมอย่างไร. สืบค้นเมื่อ 3 มกราคม จาก
https://www.idahopress.com/ralos/how-a-surging-population-impacts-the-
environment/article_e4fc7f1c-c2a3-11ed-a1bb-
b71d3646b5f.html
โสภารัตน์ จาระสมบัติ. (2560). แนวทางออกแบบรีสอร์ทที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม. Viridian E-journal,
Silpakorn University, 10(3), 2642-2652.
อัจฉรา นาคอ้าย. (2560). การจัดการสิ่งแวดล้อม. กรงเทพฯ: ม.ป.พ. หน้า 45-51.
Gustafon and Hertting. (2017) Understanding Participatory Governance: An
Analysis of Participants’ Motives for Participation. American Review of Public
Administration47(5): 538-549.
Yass, B. A. R. (2015). The sustainable environmental management for the city: Art and policy
the case study is Salaimaniyah City.