ปัจจัยคุณลักษณะของหัวหน้างานที่มีผลต่อความพึงพอใจในอวัจนภาษาของผู้ปฏิบัติงาน

ผู้แต่ง

  • พรพรหม ชมงาม อาจารย์ประจำภาควิชาการประชาสัมพันธ์ คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

คำสำคัญ:

ปัจจัยคุณลักษณะ, ความพึงพอใจในอวัจนภาษา

บทคัดย่อ

การศึกษาเรื่องปัจจัยคุณลักษณะของหัวหน้างานที่มีผลต่อระดับความพึงพอใจในอวัจนภาษาของผู้ปฏิบัติงาน

มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลกระทบของคุณลักษณะของหัวหน้างานที่ประกอบด้วยเพศ และอายุที่มีต่อความพึงพอใจในอวัจนภาษาของผู้ปฏิบัติงาน ตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาคือ พนักงานระดับผู้ปฏิบัติงานในองค์กรเอกชน จำนวนทั้งสิ้น 200  คน (หัวหน้างาน = 100 , พนักงานปฏิบัติการ = 100 คน) โดยวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติไคสแควร์

ผลการศึกษาผลกระทบของเพศของหัวหน้างานที่มีต่อความพึงพอใจในอวัจนภาษาของผู้ปฏิบัติงาน พบว่า เพศของหัวหน้างานมีผลต่อความพึงพอใจในอวัจนภาษาของผู้ปฏิบัติงานทุกลักษณะ ส่วนผลกระทบของอายุของหัวหน้างานที่มีต่อพึงพอใจในอวัจนภาษาของผู้ปฏิบัติงาน พบว่าอายุของหัวหน้างานมีผลต่อความพึงพอใจในอวัจนภาษาด้านลักษณะการใช้กิริยาอาการของคู่สื่อสารที่เป็นผู้ปฏิบัติงาน แต่ไม่มีผลต่อภาษาท่าทางลักษณะการสัมผัส และลักษณะการใช้สายตาและคิ้ว

References

กาญจนา โชคเหรียญสุขใจ. (2550). การสื่อสารเชิงอวัจนภาษารูปแบบและการใช้. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

จาระไน แกลโกศล. (2543). เอกสารการสอนชุดวิชาหลักและทฤษฎีการสื่อสาร หน่วยที่ 10 (พิมพ์ครั้งที่ 18). นนทบุรี: สาขาวิชานิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

ณจิต ดีปานวงศ์. (2539). อิทธิพลของอวัจนภาษาของนักร้องแกรมมี่ เอ็นเตอร์เทนเม้นท์ต่อเยาวชน (วิทยานิพนธ์ปริญญานิเทศศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชานิเทศศาสตร์พัฒนาการ ภาควิชาการประชาสัมพันธ์ บัณฑิตวิทยาลัย). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ธิดารัตน์ วัฒนไพโรจน์. (2543). ความพึงพอใจของผู้โดยสารที่มีต่อกรสื่อสารระหว่างบุคคลของพนักงานต้อนรับสายการบินไทย ศึกษากรณี: ผู้โดยสารที่ใช้เส้นทางบนินในทวีปเอเชีย (วิทยานิพนธ์ปริญญานิเทศศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชานิเทศศาสตร์ธุรกิจ คณะนิเทศศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.

นิดา มีสุข. (2546). เอกสารประกอบการเรียนวิชา ทย 101 ภาษาไทย 1. สงขลา: ภาควิชาภาษาไทยและภาษาตะวันออก มหาวิทยาลัยทักษิณ.

ปรมะ สตะเวทิน. (2540). หลักนิเทศศาสตร์ (พิมพ์ครั้งที่ 9). กรุงเทพฯ: คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

พรพรหม ชมงาม. (2550, มกราคม, 31). เอกสารประกอบการบรรยายในชั้นเรียน วิชา สบ. 601 การสื่อสารเพื่อสารความสัมพันธ์. สาขาวิชาการสื่อสารระหว่างบุคคล คณะนิเทศศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.

มารยาท ปานุราช. (2539). ความพึงพอใจในการติดต่อสื่อสารและการปฏิบัติงานของพนักงานการประปานครหลวง (วิทยานิพนธ์ปริญญานิเทศศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชานิเทศศาสตร์พัฒนาการ ภาควิชาการประชาสัมพันธ์ บัณฑิตวิทยาลัย). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ยงยุทธ วงศ์ภิรมย์ศานติ์. (2540). เอกสารการสอนชุดวิชาพฤติกรรมการสื่อสาร หน่วยที่ 4 (ฉบับปรับปรุง). นนทบุรี: สาขาวิชานิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

เรวัตร สมบัติทิพย์. (2543). การติดต่อสื่อสารในองค์การ: กรณีศึกษาบริษัทซีเกท เทคโนโลยี (ประเทศไทย) จำกัด (วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต คณะรัฐศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

วิชชา สันทนาประสิทธิ์. (2543). การนำเสนอภาพความเป็นชายในภาพยนตร์ไทยระหว่างปีพ.ศ. 2541-2542 (วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต สาขาวิชาการสื่อสารมวลชน ภาควิชาการสื่อสารมวลชน บัณฑิตวิทยาลัย). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ศิริวรรณ เสรีรัตน์, ชวลิต ประภวานนท์, สมชาย หิรัญกิตติ, สมศักดิ์ วานิชยาภรณ์, และสุดา สุวรรณาภิรมย์. (2539). องค์การและการจัดการ. กรุงเทพฯ: วิสิทธิ์พัฒนา.

สุวัฒนา เลี่ยมประวัติ, และกันทิมา วัฒนประเสริฐ. (2539). วิเคราะห์การใช้คำและการแปรของภาษาของคนสามระดับอายุในชุมชนลุ่มน้ำท่าจีน (พิมพ์ครั้งที่ 2). นครปฐม: มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์.

อรุณี อรุณเรือง. (2533). การเปลี่ยนแปลงวรรณยุกต์โทในภาษาไทยกรุงเทพฯ ตามระดับอายุผู้พูด (วิทยานิพนธ์ปริญญาอักษรศาตรหาบัณฑิต คณะอักษรศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

อวยพร พานิช, ถิรนันท์ อนวัชศิริวงศ์, และเมตตา กฤตวิทย์. (2536). ภาษาเพื่อการสื่อสาร. กรุงเทพฯ: คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

Martin, H. (1971). International family health encyclopedia (Volume 2). California: Afe Press.

Schumacker, R. E., and Lomax, R. G. (2012). A beginner’s guide to structural equation modeling. New York: Routledge. Taylor & Francis Group.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2019-03-21