อนาคตภาพของมหาวิทยาลัยในสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (ส.ป.ป. ลาว)
คำสำคัญ:
อนาคตภาพ, มหาวิทยาลัย, องค์ประกอบ, แนวโน้มบทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอนาคตภาพที่เป็นไปได้ของมหาวิทยาลัยใน ส.ป.ป. ลาว ระหว่าง พ.ศ. 2559 - 2573 โดยนำเทคนิคการวิจัยอนาคตแบบ EDFR ได้ดำเนีนการเป็น 3 ระยะคือ 1) ศึกษาแนวคิดทฤษฏีการจัดการอุดมศึกษา รวมทั้งมีการสัมภาษณ์เชิงลึกผู้ทรงคุณวุฒิ 8 คนด้วย 2) ศึกษาอนาคตภาพมหาวิทยาลัย โดยใช้เทคนิคการวิจัยอนาคตแบบ EDFR จำนวน 3 รอบ มีผู้เชี่ยวชาญ 24 คน และ 3) การสร้างภาพอนาคตของมหาวิทยาลัยใน ส.ป.ป. ลาว รวมทั้งมีแบบสอบถามกลุ่มตัวอย่างจำนวน 70 คนด้วย ผลการวิจัยพบว่า องค์ประกอบของอนาคตภาพของมหาวิทยาลัยดังกล่าว ประกอบด้วยองค์ประกอบหลัก 12 ด้าน ดังนี้ 1) ด้านการคุ้มครองมหาวิทยาลัย 2) ด้านหลักสูตรและการเรียนการสอน 3) ด้านการค้นคว้าวิจัย 4) ด้านการบริการวิชาการ 5) ด้านการอนุรักษ์วัฒนธรรม 6) ด้านบทบาทของมหาวิทยาลัยต่อชุมชน 7) ด้านการร่วมมือกับภายในและต่างประเทศ 8) ด้านพื้นฐานโครงสร้าง/สิ่งอำนวยความสะดวก 9) ด้านความเป็นอัตลักษณ์ (ความโดดเด่น) ของมหาวิทยาลัย 10) ด้านผู้เรียน 11) ด้านอาจารย์ และ 12) ด้านผู้บริหารใน 12 ด้านนี้มีองค์ประกอบย่อย จำนวน 103 ข้อ ในองค์ประกอบย่อยที่มีแนวโน้มและโอกาสเป็นไปได้มากที่สุดมีจำนวน 84 ข้อ เมื่อพิจารณาจากค่าเฉลี่ย อยู่ระหว่าง 4.51 – 5.00 ค่ามัธยฐาน 3.51 ขึ้นไป และค่าพิสัยระหว่างควอไทล์น้อยกว่าหรือเท่ากับ 1.50 และองค์ประกอบย่อยที่มีแนวโน้มและโอกาสเป็นไปได้มาก จำนวน 19 ข้อ สรุปผลการวิจัยพบว่าอนาคตภาพด้านที่ 12 ด้านผู้บริหาร ด้านที่ 11 ด้านอาจารย์ และด้านที่ 5 ด้านการอนุรักษ์วัฒนธรรม ตามลำดับ มีแนวโน้มและโอกาสเป็นไปได้มากที่สุดและจำเป็นต้องได้รับการพัฒนาก่อนด้านอื่น
References
กระทรวงศึกษาธิการและกีฬา. (2548, ตุลาคม 10). แผนพัฒนาการศึกษาและกีฬา 5 ปี ครั้งที่ 8 แต่ปี 2559-2563 กระทรวงศึกษาธิการและกีฬา การวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติที่มา. สืบค้น 1 พฤศจิกายน 2561, จาก https://netra.lpru.ac.th/~phaitoon/Copy%20of%20111RES52/8stat1.htm
กระทรวงศึกษาธิการและกีฬา. (2553). บทรายงานเกี่ยวกับแผนปฏิรูปการศึกษาชั้นสูงต่อกองประชุมครบคณะครั้งที่ 7 ของคณะกรรมาธิการแห่งชาติการปฏิรูประบบการศึกษาแห่งชาติ. กรุงเทพฯ: ผู้แต่ง.
กระทรวงศึกษาธิการและกีฬา. (2553). แผนงานใหญ่ของกระทรวงศึกษาธิการและกีฬา 2549-2553 และ 2554-558 (แผนงานขยายโอกาส เข้าเรียนในการศึกษาชั้นสูง แผนงานปรับปรุงคุณภาพความสอดคล้องแผนงาน การบริหารและจัดการ). กรุงเทพฯ: ผู้แต่ง.
กระทรวงศึกษาธิการและกีฬา. (2555). บทสรุปที่ประชุมสมัยวิสามัญคณะกรรมาธิการแห่งชาติเกี่ยวกับการปฏิรูประบบการศึกษา. กรุงเทพฯ: ผู้แต่ง.
กระทรวงศึกษาธิการและกีฬา. (2555). ประชุมสมัยวิสามัญคณะกรรมาธิการแห่งชาติเกี่ยวกับการปฏิรูประบบการศึกษา. กรุงเทพฯ: ผู้แต่ง.
กระทรวงศึกษาธิการและกีฬา. (2558). แผนพัฒนาแขนงการศึกษา และกีฬา 5 ปี ครั้งที่ 8 (พ.ศ. 2559-2563). กรุงเทพฯ: ผู้แต่ง.
จันทรา พรหมมานนท์. (2546). ปฏิรูปการศึกษาการเตรียมความพร้อมของครูและผู้บริหารมืออาชีพ. วิชาการ Source 6, 1, 63
จุรีรัตน์ สืบตระกูล. (2539). แนวโน้มหลักสูตรและการสอนมหาบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ในทศวรรษหน้า (วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
จุลชีพ ชินวรรโณ. (2557). โลกในศตวรรษที่ 21 กรอบการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ชมพูนุท ร่วมชาติ. (2548). อนาคตภาพของหลักสูตรวิชาชีพครูในทศวรรษหน้า (พ.ศ. 2550-2559) (ปริญญานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการวิจัยและพัฒนาหลักสูตร). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
ดารณี คำแหง. (2547). ศึกษาอนาคตภาพและการพัฒนาระบบการเรียนการสอนสถิติโดยใช้เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ในระดับอุดมศึกษา ภายในปี พ.ศ. 2550.
ถนอมวรรณ ประเสริฐเจริญสุข. (2558). อนาคตภาพการเป็นมหาวิทยาลัยของมหาวิทยาลัยขอนแก่น (วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาบริหารการศึกษา). ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
ปทุมมา ศรักษ์วงศ์. (2544). ศึกษาอนาคตภาพของระบบการประกันคุณภาพอาชีวศึกษา (วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการวิจัยการศึกษา). มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
ปรัชญา เวสารัชช์. (2545). หลักการจัดการศึกษา. กรุงเทพฯ: สำนักงานปฏิรูปการศึกษา.
ปองพล อดิเรกสาร. (2546). การปฏิรูประบบการศึกษา. สืบค้นจาก https://www.nectec.or.th/schoolnet/.../10000-0323.html
พนม พงษ์ไพบูลย์. (2543, ตุลาคม 10). อะไรคือเป้าหมายการปฏิรูปการศึกษา. วารสารข้าราชการครู. สืบค้นจาก https://www.kb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2010/8282/10/References.pdf
พรชุลี อาชวอำรุง. (2545). ศึกษารูปแบบการบริหารงานของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยในอนาคต. วารสารวิธีวิทยาการวิจัย, 16(4), 651-678.
พรรคประชาชนปฏิวัติลาว. (2559). แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาเศรษฐกิจสังคมของประเทศลาวปี พ.ศ. 2554-2563 และ เอกสารกองประชุมใหญ่ ครั้งที่ 10.
พระมหาสาคร ภักดีนอก. (2555). ทิศทางของมหาวิทยาลัยมหามกุฎราชวิทยาลัยในทศวรรษหน้า (พ.ศ. 2555-2564) (วิทยานิพนธ์ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาบริหารการศึกษา). พระนครศรีอยุธยา: มหาวิทยาลัยมหามกุฎราชวิทยาลัย.
วรัมพล อยู่ในธรรม. (2544). ศึกษาอนาคตภาพสำหรับการใช้อินเทอร์เน็ตของมหาวิทยาลัยรามคำแหงในปี พ.ศ. 2548 (วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
วันทนา อมตาริยกุล. (2552). วิจัยเรื่องอนาคตภาพของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสานในทศวรรษหน้า (วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารและพัฒนาการศึกษา). มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
วิชัย ตันศิริ. (2542). โฉมหน้าการศึกษาไทยในอนาคต: แนวคิดสู่การปฏิรูปในพระราชบัญญัติ. สืบค้นจาก https://www.thesis.rru.ac.th/files/pdf/1222246706
สำนักงานปฏิรูปการศึกษา. (2545). ปัญจปฏิรูปการศึกษาแนวทางสู่การปฏิบัติ. กรุงเทพฯ: พิมพ์ดี.
สิริชัยชาญ ฟักจำรูญ. (2539). ศึกษาอนาคตภาพและทางเลือกในอนาคตสำหรับการดำเนินงานด้านวัฒนธรรมภายในปีพุทธศักราช. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สุบรรณ เอื่อมวิจารณ์. (2550). อนาคตภาพทีเป็นไปได้ของมหาวิทยาลัยมหาสารคามในทศวรรษหน้า (วิทยานิพนธ์ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา). ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
สุรัฐ ศิลปะอนันต์. (2543). โรงเรียนยุคปฏิรูปการศึกษา ปรับปรุงสภาวะภายในทั้งด้านการสอนและการบริหารโรงเรียน. สืบค้นจาก https://www.chan2.obec.go.th/.../afovmvUUVlw20150521201823.pdf
อุทัย บุญประเสริฐ. (2547). บทบาทและการมีส่วนร่วมในการบริหารและจัดการศึกษาของ คณะกรรมการสถานศึกษาในประเทศที่คัดสรร (รายงานผลการวิจัย). สืบค้นจาก https://www.e-library.onecapps.org/
อุไรวรรณ วินะพันธุ์. (2545). ศึกษาอนาคตภาพของการจัดหลักสูตรสิ่งแวดล้อมศึกษาในมหาวิทยาลัยสงฆ์ โดยศึกษา 15 ปีข้างหน้า (พ.ศ. 2559). วารสารพุทธศาสน์ศึกษา, 9(3), 112.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารสุทธิปริทัศน์ ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสาร ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใดๆ
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารสุทธิปริทัศน์ ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารสุทธิปริทัศน์หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใด ๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากวารสารสุทธิปริทัศน์ก่อนเท่านั้น