การศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิผลของการจัด การเรียนการสอนรายวิชาสหกิจศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล กลุ่มภาคกลาง
คำสำคัญ:
ปัจจัยการจัดการสอน, อิทธิพลต่อการจัดการเรียนการสอน, ประสิทธิผล, รายวิชาสหกิจศึกษาบทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีจุดประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิผลของการจัดการเรียนการสอน รายวิชาสหกิจศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล กลุ่มภาคกลาง เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่าง ตัวแปรอิสระและตัวแปรตาม ซึ่งเป็นปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิผลของการจัดการเรียนการสอนรายวิชา สหกิจศึกษา ด้วยสมการถดถอยพหุคูณ มีระดับนัยสำคัญ .001จำนวนกลุ่มตัวอย่างทั้งสิ้น 888 คน ประกอบด้วย นักศึกษา จำนวน 424 คน อาจารย์ จำนวน 263 คน และ ผู้แทนสถานประกอบการ จำนวน 201 คน ผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิผลการจัดการเรียนสอนรายวิชาสหกิจศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล กลุ่มภาคกลาง ได้แก่ 1) การเตรียมความรู้ก่อนการปฏิบัติงาน มีค่า สัมประสิทธิ์อิทธิพลเท่ากับ (0.212) 2) การนิเทศงานสหกิจศึกษามีค่าสัมประสิทธิ์อิทธิพลเท่ากับ (0.401) 3) การใช้เครื่องมือ/อุปกรณ์ในการฝึกปฏิบัติ มีค่าสัมประสิทธิ์อิทธิพลเท่ากับ (0.233) 4) การบริหารเวลา ระหว่างการจัดการเรียนการสอนมีค่าสัมประสิทธิ์อิทธิพลเท่ากับ (1.032)5) การถ่ายทอดเทคโนโลยีและ นวัตกรรม มีค่าสัมประสิทธิ์อิทธิพลเท่ากับ (0.436) และ 6) ทักษะทางวิชาการของนักศึกษามีค่าสัมประสิทธิ์ อิทธิพลเท่ากับ (0.481)
References
กรมวิชาการ (2545). การประเมินสภาพจริง. สืบค้นเมื่อ 8 สิงหาคม 2559. จาก http://www.dcms.thailis.or.th/dcms/browse.php?option
กิตติมาพร โลกาวิทย์. (2554). ความสามารถในการบริหารเวลาของนักศึกษาพยาบาล มหาวิทยาลัยปทุมธานี. ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยปทุมธานี.
กันต์ อินทุวงศ์. (2554). การถ่ายทอดเทคโนโลยีแบบมีส่วนร่วมการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากอ้อยเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของชุมชน. สกลนคร: มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.
นงลักษณ์ วิรัชชัย และสุวิมล ว่องวาณิช. (2541). การสังเคราะห์งานวิจัยทางการศึกษาด้วยการวิเคราะห์อภิมานและการวิเคราะห์เนื้อหา. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการศึกษาแห่งชาติ สำนักนายกรัฐมนตรี.
บุญช่วย สุทธิรักษ์. (2556). การวิจัยกระบวนการพัฒนาทักษะการวิจัยของนักศึกษา (คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์). เพชรบูรณ์: มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์.
มณิณทร อินหันต์ และชาตรี ปรีดาอนันทสุข. (2558). การศึกษาในเรื่องการเตรียมความพร้อมด้านทักษะและความรู้ของพนักงานสายสนับสนุนของมหาวิทยาลัยนเรศวรก่อนเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน. พิษณุโลก: มหาวิทยาลัยนเรศวร.
วิจิตร ศรีสอ้าน และอลงกต ยะไวทย์. (2552). การฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการเสริมสร้างประสิทธิภาพการบริหารจัดการสหกิจศึกษา. พระนครศรีอยุธยา: โรงแรมกรุงศรีริเวอร์.
สิรภพ ใจสุภาพ. (2553). เทคนิคการบริหารเวลาในการทำงาน: บทความวิทยุกระจายเสียง ปี 2553. ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยสุขโขทัยธรรมาธิราช.
สัมภาษณ์ สุวรรณคีรี (2560) การถ่ายทอดเทคโนโลยีและนวัตกรรมจากงานวิจัยสู่เชิงพาณิชย์. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร.
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2557). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ,ฉบับที่ 11 (2555-2559). สืบค้นเมื่อ 8 สิงหาคม 2557, จาก http://www.nesdb.go.th/Default.aspx?tabid.
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. (2545). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545. กรุงเทพ: กระทรวงศึกษาธิการ.
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. (2543). มาตรฐานสหกิจศึกษา. กรุงเทพ: กระทรวงศึกษาธิการ.
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. (2550). แผนพัฒนาอุดมศึกษาระยะยาว 15 ปี ฉบับที่ 2 (2551 – 2565). กรุงเทพ: กระทรวงศึกษาธิการ.
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา.(2551). รายงานการประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการสหกิจศึกษานำร่องประเทศไทยระหว่างปี พ.ศ. (2545 – 2547). กรุงเทพ: กระทรวงศึกษาธิการ.
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา. (2552) กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2552. กรุงเทพ: กระทรวงศึกษาธิการ.
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา.. (2552). ผลการติดตามการได้งานทำของนักศึกษาสหกิจศึกษา. กรุงเทพ: กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.
สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ. (2547). แกะรอยนวัตกรรมไทย. กรุงเทพ: กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.
สุจินดา ม่วงมี. (2549). บทบาทและความรับผิดชอบของอาจารย์นิเทศ ตามการรับรู้ของนิสิตฝึกสอนอาจารย์พี่เลี้ยงและอาจารย์นิเทศ. ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา.
สุวิมล ว่องวาณิช. (2545). เคล็ดลับการทำวิจัยในชั้นเรียน. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์อักษรไทย.
เศรษฐศาสตร์ ไชยแสง. (2553). คุณภาพชีวิตในการทำงานกับความผูกพันต่อองค์การของบุคลากรวิทยาลัยราชพฤกษ์. นนทบุรี: วิทยาลัยราชพฤกษ์.
อลงกต ยะไวทย์. (2549). การพัฒนารูปแบบการจัดการสหกิจศึกษาของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี. นครราชสีมา: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
อัญชลี ธรรมะวิธีกุล. (2552). ความรู้เบื้อต้นเกี่ยวกับการนิเทศการศึกษา 1. สืบค้นเมื่อ 15 มิถุนายน 2558, จาก https://www.panchalee.wordpress.com/2009/03/30/supervision/
Ashworth, A., & Harvey,R. (1994). Assurance Quality in Further and Higher Education. Buckingham: Society for Research in to Higher Education. And Open University press.
Romiszowski, A. J. (1981). Designing instructional systems: Decision making in course planning and curriculum design. New York: Nichols.
Spence, J. G. (2003). The Relationship between Cooperative Education Student Work Values and Work site Managers Referent Power. Ohio State University. Retrieved form http://www.etd.ohiolink.edu/!etd.send_file?accession=osu1047503508
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารสุทธิปริทัศน์ ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสาร ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใดๆ
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารสุทธิปริทัศน์ ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารสุทธิปริทัศน์หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใด ๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากวารสารสุทธิปริทัศน์ก่อนเท่านั้น