การนำมาตรฐานสากลไปปฏิบัติเพื่อสนับสนุนกระบวนการซอฟต์แวร์ในองค์กรธุรกิจแบบ startup

ผู้แต่ง

  • วราพร จิระพันธุ์ทอง วิทยาลัยครีเอทีฟดีไซน์แอนด์เอ็นเตอร์เทนเมนต์เทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์

คำสำคัญ:

สตาร์ทอัพ, ระบบนิเวศน์, กระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์แบบบุคคล, กระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์, มาตรฐานสากล

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มุ่งเน้นการศึกษาระบบนิเวศน์และมาตรฐานสากลสำหรับกระบวนการซอฟต์แวร์ที่ สนับสนุนสำหรับองค์กรแบบสตาร์ทอัพ ปัจจุบันสตาร์ทอัพสามารถสร้างอำนาจการแข่งขันทางธุรกิจ หรือสร้างความเป็นเอกลักษณ์เฉพาะของตนเองได้โดยการใช้ซอฟต์แวร์หรือแอพพลิเคชั่นที่ทันสมัยและ อัจฉริยะ งานวิจัยนี้มีสมมติฐานที่เชื่อว่าการดำเนินกิจกรรมเพื่อการพัฒนาของผู้ประกอบการที่ประสบ ความสำเร็จนั้นองค์กรจำเป็นต้องได้รับการอำนวยความสะดวกอย่างทั่วถึง จากการศึกษาพบว่าซอฟต์แวร์ หรือแอพพลิเคชั่นที่ทันสมัยและอัจฉริยะจะช่วยให้ธุรกิจที่เพิ่งเริ่มต้นซึ่งรวมถึงองค์กรแบบซอฟต์แวร์ เทคสตาร์อัพจะมีประสิทธิภาพและสร้างความได้เปรียบในการแข่งขัน โดยการจัดหาสภาพและข้อได้เปรียบ ที่เหมาะสมสำหรับการเริ่มต้นทำงานให้เร็วขึ้นและมีประสิทธิภาพมากขึ้นกว่าองค์กรอื่น การศึกษานี้ประยุกต์ ใช้กระบวนการซอฟต์แวร์ส่วนบุคคล (PSP) สำหรับกิจกรรมการพัฒนาซอฟต์แวร์และพัฒนาการปรับใช้ สคริปต์สำหรับทำตามขั้นตอนในกระบวนการซอฟต์แวร์ส่วนบุคคล นอกจากนี้มีการศึกษาวรรณกรรมที่ เกี่ยวข้องกับระบบนิเวศนี้โดยรวมและสตาร์ทอัพโดยทั่วไป มีการศึกษาการวัดระดับเพื่อประเมิน ความสำเร็จผ่านปัจจัยและเมตริกต่างๆและวงจรชีวิตของสตาร์ทอัพ

References

Blake, M. and S. Wijetilaka. (2015). 5 tips to grow your startup using SWOT analysis. Sydney. Retrieved August 13, 2015, from http://www.afr.com/it-pro/5-tips-to-grow-your-startup-usingswot-analysis-20150226-13pkj5.

Business Data Warehouse. (2013). Department of Business Development, Ministry of Commerce.Retrieved January 15, 2018, from http://datawarehouse.dbd.go.th.

Humphrey, W. S. (2005). PSP: A Self-Improvement Process for Software Engineers. Addison Wesley. ISBN: 0-321-30549-3.

International Organizational for Standardization (ISO). (2016). Software Engineering - Lifecycle Profiles for Very Small Entities (VSEs) - Part 1: Overview. ISO/IEC TR 29110-1. Geneva. Retrieved January 15, 2018, from https://www.iso.org/standard/51150.html.

Kask, J. & Linton, G. (2013). Business mating: When start-ups get it right. Journal of Small Business and Entrepreneurship, 26 (5), 511. doi:10.1080/08276331.2013.876765.

Katila, R., Chen, E. L. & H. Piezunka. (2012). All the right moves: How entrepreneurial firms compete effectively. Strategic Entrepreneurship Journal. 6. doi:10.1002/sej.1130. Retrieved May 15, 2017, from https://onlinelibrary.wiley.com/doi/abs/10.1002/sej.1130.

Myler, L. (2017). 7 Ways To Make Your Business Stand Out In A Crowd Of Competitors. Forbes Entrepreneurs. Retrieved February 23, 2018, from https://www.forbes.com/sites/larrymyler/2017/02/23/7-ways-to-make-your-business-stand-out-in-a-crowd-of-competitors/#38550f8862fa.

Organisation for Economic Co-operation and Development. (2005). Small and Medium Enterprise (SME) Outlook Report, 2005. OECD. Retrieved December 4, 2017, from http://www.oecd.org/cfe/oecdsmeandentrepreneurshipoutlook-2005edition.htm.

Rachleff, A. (2017). To Get Big, You’ve Got to Start Small. Tech Crunch. Retrieved January 28, 2017, from www.inc.com.

Robehmed, N. (2013). What Is A Startup?. Forbes. Retrieved April30, 2016, from https://www.forbes.com/sites/natalierobehmed/2013/12/16/what-is-a-startup/#66f9676a4044

Startup Genome. (2017). The Global Startup Ecosystem Ranking 2017. Retrieved January 15, 2018, from https://startupgenome.com/thank-you-enjoy-reading/

Teece, D. J. (2010). Business Models, Business Strategy and Innovation. Long Range Planning, 43 (2–3), 172. doi:10.1016/j.lrp.2009.07.003.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2020-06-10