ประสิทธิภาพการสื่อสารทางการตลาดและภาพลักษณ์ที่ส่งผลต่อความตั้งใจศึกษาต่อสถาบันอุดมศึกษาของรัฐของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายในจังหวัดพระนครศรีอยธุยา

ผู้แต่ง

  • มัฒธนา บุญธรรม
  • วสุธิดา นุริตมนต์

คำสำคัญ:

ประสิทธิภาพการสื่อสารทางการตลาด, ภาพลักษณ์, ความตั้งใจศึกษาต่อ, สถาบันอุดมศึกษาของรัฐ

บทคัดย่อ

การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาประสิทธิภาพการสื่อสารทางการตลาดที่ส่งผลต่อความตั้งใจศึกษาต่อสถาบันอุดมศึกษาของรัฐของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย (2) ศึกษาภาพลักษณ์ ที่ส่งผลต่อความตั้งใจศึกษาต่อสถาบันอุดมศึกษาของรัฐของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายโดยใช้ แบบสอบถาม จำนวน 400 ชุด วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการใช้สถิติเชิงพรรณนาได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและวิเคราะห์ความถดถอยเชิงพหุคูณ (Multiple Regression Analysis) ผลการศึกษาพบว่าประสิทธิภาพการสื่อสารทางการตลาดได้แก่ ด้านความสม่ำเสมอ ด้านความเหมาะสม และด้านช่องทางการนำเสนอส่งผลต่อความตั้งใจศึกษาต่อสถาบันอุดมศึกษาของรัฐของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายส่วนภาพลักษณ์ ได้แก่ ด้านบุคลากร ด้านสิ่งสนับสนุนการเรียนด้านคุณภาพรู้ บัณฑิตและด้านชื่อเสียงส่งผลต่อความตั้งใจศึกษาต่อสถาบันอุดมศึกษาของรัฐของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย ผลการศึกษาครั้งนี้สามารถนำไปใช้เป็นแนวทางการส่งเสริมพัฒนาประสิทธิภาพการสื่อสาร ทางการตลาดและภาพลักษณ์ของสถาบันอุดมศึกษาให้สอดคล้องกับความต้องการของผู้ตั้งใจศึกษาต่อ และนำไปสู่การตัดสินใจเลือกศึกษาต่อในสถาบันอุดมศึกษาของรัฐต่อไป

References

กัลยา วาณิชย์บัญชา. (2551). สถิติสำหรับงานวิจัย. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ไกรสิงห์ สุดสงวน. (2560). การศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษาของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายโรงเรียนสาธิต มหาวิทยาลัยศิลปากร. วารสาร. Veridian EJournal 10, (1) (มกราคม – เมษายน), 201 – 207.

เขมราช ภิระบรรณ. (2556). ประสิทธิภาพการสื่อสารทางการตลาดโดยใช้ภาพเคลื่อนไหวบนระบบออนไลน์ที่ส่งผลความตั้งใจความสนใจ ความต้องการและการตัดสินใจศึกษาต่อระดับบัณฑิตศึกษา ในมหาวิทยาลัยเอกชน. (ค้นคว้าอิสระมหาบัณฑิต. บริหารธุรกิจ). กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.

จิตติพร วรรธนะพิศิษฎ์. (2553). การศึกษาพฤติกรรมการใช้จ่ายและความพึงพอใจในการเปิดรับสื่อเพื่อการสื่อสารการตลาดของผู้ใช้บริการสตูดิโอถ่ายภาพ PreWadding ในเขตเทศบาลนครสุราษฎร์ธานี. (วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต ครุศาสตร์อุตสาหกรรม). กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี.

ดลธร เพ็ชรสังกุล. (2556). ปัจจัยการสื่อสารทางการตลาดที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกศึกษาต่อสาขาวิชาการสื่อสารดิจิทัลมหาวิทยาลัยแม่โจ้จังหวัดเชียงใหม่. (วิทยานิพนธ์ ศิลปะศาสตร์มหาบัณฑิต). เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยแม่โจ้.

ดวงฤดี อุทัยหอม และสิทธิเสกข์ พิมพ์ธนะพูนพร. (2558). ความสัมพันธ์ระหว่างภาพลักษณ์ความเชื่อมั่น กับความภักดีต่อการใช้บริการตัวแทนจำหน่ายรถยนต์ที่นั่งส่วนบุคคลวอลโว่ของลูกค้าในเขตจังหวัดภาคใต้. วารสารการประชุมหาดใหญ่วิชาการระดับชาติ, 6 (26 มิถุนายน2558), 1026 – 1037.

ดวงฤทัย แก้วคำ และวิมลพรรณ อาภาเวท. (2559). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจเลือกเข้าศึกษาต่อระดับปริญญาตรีของนักศึกษามหาวิทยาลัยในเขตดุสิต. วารสารเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน มทร.พระนคร, 1(2) (กรกฎาคม – ธันวาคม), 42 – 49.

ธนัญญา สุรินทร์ศิริรัฐ. (2550). ประสิทธิผลการสื่อสารทางการตลาดของซีเมนต์ไทยโฮมมาร์ทแม็กซ์ (บริษัทร้อยเอ็ดรุ่งเรือง จำกัด)ในจังหวัดร้อยเอ็ด. (การศึกษาค้นคว้าอิสระบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต). มหาสารคาม: มหาวิทยาลัย มหาสารคาม.

ธันยากร ช่วยทุกข์เพื่อน. (2558). การศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกเรียนในระดับอุดมศึกษาที่มหาวิทยาธุรกิจบัณฑิตย์ของนักศึกษาระดับปริญญาตรี. วารสารสุทธิปริทัศน์. (90),29, 256 – 271.

นงลักษณ์ อ่อนเครง,บุศริน จันทะแจ่ม,อุทัยวรรณ สุทธิพงศ์,อนุสรณ์ กะณะศิริ และอัมพา ภาคทวี. (2543). ภาพลักษณ์ของมหาวิทยาลัยทักษิณ. (รายงานการวิจัย). สงขลา: มหาวิทยาลัยทักษิณ.

นุจรี เตชะสุกิจ. (2557). ประสิทธิภาพการสื่อสารทางการตลาดที่อิทธิพลต่อพฤติกรรมการตัดสินใจซื้อน้ำหอมต่างประเทศ. (ค้นคว้าอิสระปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต). กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.

เบญจวรรณ สุจริต. (2554). การสื่อสารการตลาดแบบบูรณาการ. (พิมพ์ครั้งที่ 1). อุตรดิตถ์: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์.

ภัทรพร บุญวรเมธี. (2548). กลยุทธ์การสื่อสารทางการตลาดเพื่อสร้างภาพลักษณ์ของสปอร์ตซิตี้ (Sports City) ที่ประชาชื่น. (วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต นิเทศศาสตร์). กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.

ภัทรินทร์ พลประถม. (2555). ผลกระทบของกลยุทธ์การตลาดเชิงประสบการณ์ที่มีต่อประสิทธิภาพการสื่อสารทางการตลาดของธุรกิจเครื่องสำอางในประเทศไทย. (วิทยานิพนธ์ปริญญาเศรษฐศาสตร์มหาบัณฑิต,สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ). มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

ภัทรวิทย์ อยู่วัฒนะ. (2556). ทิศทางอาเซียนกับการศึกษา. สืบค้น 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2561. จาก http://tokissunlike.blogspot.com

ภารดี อนันต์นาวี. (2557). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจเลือกเข้าศึกษาต่อสาขาวิชาการบริหารการศึกษา ศูนย์นวัตกรรมการบริหารและผู้นำทางการศึกษาคณะศึกษาศาสตร์มหาวิทยาลัยบูรพา. วารสารวิชาการศรีปทุม 10,(4) (เมษายน – มิถุนายน), 120 – 129.

ละอองดาว แก้วดี. (2557). กลยุทธ์การสื่อสารทางการตลาดที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกศึกษาต่อ ระดับบัณฑิตศึกษาของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏเขตภูมิศาสตร์ภาคใต้. วารสารพิชญทรรศน์. 9, (2) (กรกฎาคม–ธันวาคม), 45 – 52.

ศศิวิมล แสนเมือง. (2554). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการตั้งใจเลือกมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารีของนักเรียนที่มีผลการเรียนดีในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาการจัดการ). นครราชสีมา: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี.

ศาสตรา ยะป๊อก. (2550). ปัจจัยที่มีส่วนกำหนดการเลือกศึกษาต่อในคณะต่างๆ ในสถาบันอุดมศึกษาของรัฐของนักเรียนมัธยม 6 กรณีศึกษาเขตอำเภอเมือง จ.เชียงราย. (รายงานการวิจัย). เชียงใหม่: วิจัยคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ศิริพงศ์ พฤทธิพันธุ์. (2551). ระเบียบวิธีการวิจัยธุรกิจ. กรุงเทพมหานคร: บริษัท ฮาชัน พริ้นติ้ง จำกัด.

สุริยา เสียงเย็น. (2550). ปัจจัยการตัดสินใจของผู้ปกครองนักเรียนในการส่งบุตรหลานเข้าศึกษาต่อโรงเรียนสิรินธรราชวิทยาลัยจังหวัดนครปฐม. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย). กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี.

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 3. (2560). ระบบจัดเก็บข้อมูลนักเรียนรายบุคคล สืบค้น 15 กันยายน 2560, จาก http://www.secondary3.go.th/main/.

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2560) “กรอบทิศทางแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 –2575.” สืบค้น 13 กันยายน 2560, จาก: http://backoffice.onec.go.th/uploaded/Outstand.

สำนักงานสถิติแห่งชาติ. (2556). สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. สืบค้น 28 สิงหาคม 2560, จาก http://www.nso.go.th.

หทัยกาญจน์ สิทธิศักดิ์. (2559). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจศึกษาต่อระดับปริญญาเอก หลักสูตรบริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิตของนักศึกษาปริญญาโท มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร.” การประชุมวิชาการระดับชาติ ด้านบริหารธุรกิจราชมงคลพระนครและการนำเสนอผลงานวิชาการเชิงสร้างสรรค์. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร. 16–17 ธันวาคม 2559.

อัญนา กสุยิารงัสทิธ.ิ์ (2551). สื่อประชาสัมพันธ์มี่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกศึกษาต่อในสถาบันการศึกษานานาชาติ. (วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย). กรุงเทพมหานคร: สาขาวิชาสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

Absher, K., & Crawford, C. (1996). Marketing the community college starts with understanding students’ perspectives. Community College Review, 23(4), 59 –67.

Ajzen, I., & Fishbein, M. (1980). Understanding Attitudes and Predicting Social Behavior. New Jersey. Prentice Hall. Inc.

Cubillo, J, M., Sanchez, J., & Cervino, J. (2006). “International students’ decision making Process.” International Journal of Educational Management, no.2: 101 – 115.

Kotler, P. (2000). Marketing Management. 10th ed. New Jersey: Prentice Hall In.

Cutlip, S. M., & Center, A. H. (1978). Effective Public Relations. (5th ed). New Jersey: PrentichHall, Inc.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2020-06-12