การประเมินความต้องการจำเป็นเพื่อพัฒนาสมรรถนะด้าน การจัดการชั้นเรียนของครูโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดเล็ก

ผู้แต่ง

  • สิรินทร พรมสวัสดิ์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
  • พชรวิทย์ จันทร์ศิริสิร คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

คำสำคัญ:

การประเมินความต้องการจำเป็น, สมรรถนะ, การจัดการชั้นเรียน, โรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดเล็ก

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อ 1) ศึกษาองค์ประกอบของการจัดการชั้นเรียนสำหรับโรงเรียน มัธยมศึกษาขนาดเล็ก 2) ศึกษาสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ด้านการจัดการชั้นเรียนของครูโรงเรียน มัธยมศึกษาขนาดเล็ก 3) ประเมินความต้องการจำเป็นด้านการจัดการชั้นเรียนของครูโรงเรียนมัธยมศึกษา ขนาดเล็ก โดยใช้กระบวนการวิจัยและพัฒนา (Research and Development) การดำเนินงานแบ่งเป็น 3 ระยะ กลุ่มตัวอย่าง คือ ครูผู้สอน จำนวน 260 คน และครูหัวหน้างานวิชาการ จำนวน 260 คน รวมทั้งสิ้น 520 คน โดยสุ่มแบบหลายขั้นตอน (Multi -Stage Random Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสัมภาษณ์ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าความต้องการจำเป็น (PNI modified) ผลการวิจัย พบว่า 1) องค์ประกอบของการจัดการชั้นเรียนสำหรับโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดเล็ก มี 6 องค์ประกอบหลัก ได้แก่ การสร้างบรรยากาศและสภาพแวดล้อมให้เอื้อต่อการเรียนรู้ของนักเรียน การกำหนดกฎระเบียบแนวปฏิบัติในชั้นเรียน การสร้างแรงจูงใจและปรับลดพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ ของนักเรียน การสร้างวินัยเชิงบวก การเลือกกลยุทธ์การสอนของครูผู้สอนและการสร้างความสัมพันธ์ เชิงบวก 2) สภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ด้านการจัดการชั้นเรียนของครูโรงเรียนมัธยมศึกษา ขนาดเล็ก โดยภาพรวมสภาพปัจจุบันครูผู้สอนมีการดำเนินการอยู่ในระดับ มาก ส่วนสภาพที่พึงประสงค์ อยู่ในระดับ มากที่สุด และ 3) ลำดับความต้องการจำเป็นด้านการจัดการชั้นเรียนสำหรับครูโรงเรียน มัธยมศึกษาขนาดเล็ก มากที่สุด คือ การกำหนดกฎระเบียบแนวปฏิบัติในชั้นเรียนของนักเรียน และ น้อยที่สุด คือ การสร้างความสัมพันธ์เชิงบวก

References

กระทรวงศึกษาธิการ. (2548). ข้อบังคับคุรุสภาว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพและจรรยาบรรณวิชาชีพ พ.ศ. 2548. กรุงเทพฯ: องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุครุภัณฑ์.

กาญจนา วิเศษรินทอง. (2555). การพัฒนาระบบการบริหารจัดการชั้นเรียนสำหรับโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา (วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษาดุษฎีบัณฑิต). มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์. (2543). ปั้นสมองของชาติ. กรุงเทพฯ: ซัคเซสมีเดีย.

โกวิท ประวาลพฤกษ์. (2542). รูปแบบการสอนความคิด ค่านิยม จริยธรรม และทักษะ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์คุรุสภา.

เคนเคย์. (2554). ทักษะแห่งอนาคตใหม่: การศึกษาเพื่อศตวรรษที่ 21. [21st Centiry Skills: Rethingking How Students Learn] (วรพจน์ วงศ์กิจรุ่งเรือง และ อธิป จิตตฤกษ์, ผู้แปล). กรุงเทพฯ: มูลนิธิสดศรี-สฤษดิ์วงศ์.

ฆนัท ธาตุทอง. (2552). การจัดการชั้นเรียน: ห้องเรียนแห่งความสุข (Classroom Management: Happiness

Classroom). กรุงเทพฯ: เพชรเกษมการพิมพ์.

ณัฐตะวัน ลิ้มประสงค์. (2558). สภาพการบริหารจัดการชั้นเรียนและสิ่งแวดล้อมเพื่อการเรียนรู้ของสถานศึกษา ขนาดเล็ก สังกัดสำนักงานการศึกษาขั้นพื้นฐาน จ.เพชรบูรณ์. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมสัมมนาวิชาการนำเสนองานวิจัยระดับชาติและนานาชาติ (Proceedings) เครือข่ายบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฎภาคเหนือ ครั้งที่ 15.

ทิศนา แขมมณี. (2557). ศาสตร์การสอนองค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

นวัตกร หอมสิน. (2556). รูปแบบการจัดการความรู้เพื่อพัฒนาจิตสาธารณะของนักเรียน(วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษาดุษฎีบัณฑิต). มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

ประทวน มูลหล้า. (2552). ปัจจัยที่สัมพันธ์กับสมรรถนะการบริหารจัดการชั้นเรียนของครู ระดับมัธยมศึกษาช่วงชั้นที่ 3 ในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 (ปริญญานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

รุ่ง แก้วแดง. (2543). ปฏิวัติการศึกษาไทย. (พิมพ์ครั้งที่ 8). กรุงเทพฯ: บริษัทพิฆเนศ พริ้นท์ติ้งเซ็นเตอร์ จำกัด.

วีณา นนทพันธาวาทย์. (2551). การบริหารจัดการชั้นเรียน. เอกสารประกอบการอบรมครูผู้นำการเปลี่ยนแปลงและการจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน. ม.ป.ท.: ม.ป.พ.

สุวิมล ว่องวาณิช. (2548). การวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน. (พิมพ์ครั้งที่ 8). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2558). เหลียวหลังแลหน้า ปฏิรูปการศึกษาขั้นพื้นฐาน 29 มกราคม 2558. สืบค้น 20 พฤษภาคม 2558, จาก http://www.moe.go.th/moe/upload/news20/FileUpload/45160-7020.pdf

สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการครูและบุคคลากรทางการศึกษา [ก.ค.ศ.] (2549). รวมกฎหมายกฎระเบียบการบริหารงานบุคคลด้านกฎหมายของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา.กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์คุรุสภา.

Adelina, C. (2008). How Teachers Learn, Select, and Implement “Effective” Classroom Management. New Mexico: New Mexico State University Las Cruces.

Asiyai, R. I. (2011). Effective Classroom Management Techniques for Secondary Schools. An International Multi-Disciplinary Journal, Ethiopia,5(1), 282-291.

Bliss, J. R., Firestone, W. A., & Richards, C. E. (1991). Rethinking Effective Schools: Research and Practice. New Jersey: Prentice-Hall.

Burden, P.R. (2003). Classroom management: Creating a successful learning community. (2nd ed.). New York: Wiley.

Cameron, M. and Sheppard, S. (2006).“School discipline and social work practice: Application of research and theory to intervention, ”Children & Schools.

Duke, D. L. (1992). Concepts of administrative effectiveness and the evaluation of school Administrators. San Francisco: Journal of Personnel Evaluation in Education, 6(2), 103-21.

Emmer, E. T., Evertson, C. M., & Worsham, M. E. (2003). Classroom management for secondary teacher. (6th ed.). Boston: Allyn and Bacon.

Harlacher, P. L. (2015). Designing Effective Classroom Management. Bloomington: Marzano Research.

Jones, V. F. and Jones L. S. (1990). Comprehensive Classroom Management Motivating and Managing Students. (3rd ed.). Poostion: Allyn and Bacon.

Joyce, M., Fisher, J. and Hoover, G. (2003). The Key Elements of Classroom Management. Alexandria, Va: Association for supervision and Curriculum Development.

Kauchak, D. P. and Eggen, P. D. (1998). Learning and Teaching: Research-based Methods. (3rd ed.). Boston: Allyn and Bacon.

Krejcie, R. V. and Morgan, E. W. (1970). Determing Sample Size for Research Activities. Educational and Psychological Measurement, 30(3), 607-610.

Larson, B. E. and Keiper, T. A. (2013). Instructional Strategies for Middle and High School. (2nd ed.). New York: Routledge.

Osakwe, R. N. (2015). Classroom Management. A Tool for Achieving Quality Secondary School Education in Nigeria. International Journal of Education, 6(2), 60-65.

Sakui, K. (2007). Classroom management in Japanese EFL classrooms. JALT Journal, 29(1), 41-58.

Sprick, R. S. (2013). Discipline in the secondary classroom: A positive approach to behavior management. (3rd ed.). Jossey-Bass: A Wiley Brand.

Weinstein, C.S.(2003). Secondary Classroom Management: Lesson from Research and Practice. (2nd ed.). New York: McGrawhill.

Weinstein, C.S. ( 2007). Middle and Secondary Classroom Management. Boston, MA: McGrawhill.

Wragg, E.C. (2001). Class Management in the Secondary School. London: Routledge.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2020-06-15