ยุทธศาสตร์การพัฒนากำลังแรงงานในอุตสาหกรรมยานยนต์และชิ้นส่วนอะไหล่ยานยนต์ในประเทศไทย

ผู้แต่ง

  • ชิติพัทธ์ วรารัตน์นิธิกุล

คำสำคัญ:

อุตสาหกรรมยานยนต์, อุตสาหกรรมยานยนต์และชิ้นส่วนอะไหล่ยานยนต์

บทคัดย่อ

การวิจัยมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพการผลิตกำลังแรงงานของกลุ่มสถาบันอาชีวศึกษา ที่มีหลักสูตรที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมยานยนต์และชิ้นส่วนอะไหล่ยานยนต์ 2) ศึกษาทักษะของกำลังแรงงานในอุตสาหกรรมยานยนต์และชิ้นส่วนอะไหลย่านยนต์ที่สถานประกอบการในประเทศไทยต้องการ 3) เพื่อศึกษาสมรรถนะที่คาดหวังของกำลังแรงงานในกลุ่มอุตสาหกรรมยานยนต์และชิ้นส่วนอะไหลย่านยนต์ในประเทศไทย ที่ส่งผลต่อการกำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนากำลังแรงงานในอุตสาหกรรมยานยนต์และชิ้นส่วนอะไหล่ยานยนต์ในประเทศไทย 4) ศึกษาปัจจัยภายในและภายนอกองค์กรที่มีผลต่อการพัฒนากำลังแรงงานในกลุ่มอุตสาหกรรมยานยนต์และชิ้นส่วนอะไหล่ยานยนต์ในประเทศไทย และ 5) เพื่อนำเสนอยุทธศาสตร์การพัฒนากำลังแรงงาน ในอุตสาหกรรมยานยนต์และชิ้นส่วนอะไหล่ยานยนต์ในประเทศไทย สรุปผลการวิจัยได้ยุทธศาสตร์การพัฒนา กำลังแรงงานในอุตสาหกรรมยานยนต์และชิ้นส่วนอะไหล่ยานยนต์ในประเทศไทย ดังนี้ ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาทักษะด้านภาษาแก่กำลังแรงงานกลุ่มอุตสาหกรรมยานยนต์และชิ้นส่วนอะไหล่ยานยนต์ให้ได้มาตรฐานระดับสากล ยุทธศาสตร์ที่ 2 การพัฒนามาตรฐานวิชาชีพและพัฒนามาตรฐานฝีมือของกำลังแรงงานกลุ่มอุตสาหกรรม ยานยนต์และอะไหล่ยานยนต์สู่มาตรฐานโลก ยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาระบบฐานข้อมูลด้านกำลังแรงงานของกลุ่ม อตุสาหกรรมยานยนตแ์ละอะไหลย่านยนต์ให้สอดรับกับทุกระบบหน่วยงานอื่นๆ อย่างครอบคลุม ยุทธศาสตร์ ที่ 4 จัดตั้งสถาบันพัฒนาทรัพยากรบุคคลทุกระดับทั้งในสถานศึกษากับองค์กรต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมยานยนตแ์ละชิ้นส่วนอะไหลย่านยนต์ยุทธศาสตร์ที่ 5 การพัฒนาทักษะแรงงานด้านการสร้างนวตกรรมและการใช้ เทคโนโลยีของแรงงานกลุ่มอุตสาหกรรมยานยนต์และอะไหล่ย่านยนต์ยุทธศาสตรที่ 6 การส่งเสริมให้ผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมยานยนตแ์ละชิ้นส่วนอะไหลย่านยนต์มุ่งสู่กระบวนการผลิตอย่างมีคุณภาพตามมาตรฐาน ISO และ ยุทธศาสตร์ที่ 7 การจูงใจกำลังแรงงานสู่ระบบการจ้างงานและพัฒนาระบบการจ้างงานของผู้ประกอบการจ้างกำลังแรงงานตามระบบการจ้างงาน

References

กฤษณ์ จันทโนทก. (2560). แผนยุทธศาสตร์ 20 ปี. สืบค้นเมื่อวันที่ 7 สิงหาคม 2560, จาก https:// www.finnomena.com/kris- chantanotoke/20-year-strategy.

กองบริหารทรัพยากรบุคคล, กรมพัฒนาฝืมือแรงงาน. (2560). แผนบริหารกำลังคนกรมพัฒนาฝีมีอแรงงาน (พ.ศ. 2558-2562). สืบค้น 17 มิถุนายน 2561, จาก http://home.dsd.go.th/hr/web/index_wcag.php.

จงจิตต์ ฤทธิรงค์ และรีนา ต๊ะดี. (2558). ข้อท้าทายในการผลิตแรงงานฝีมือไทยเพื่อเข้าสู่ตลาดแรงงาน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน. (ออนไลน์). สืบค้น 12 มิถุนายน 2561, จาก. https://www.tcithaijo.org/index.php/Ratchaphruekjournal/article/view/90910/71389

ณรงค์วิทย์ แสนทอง. (2547). Competency เพื่อการประเมินผลงานประจำปี กรุงทพฯ: เอชอาร์ เซ็นเตอร์ จำกัด.

ธนาคารแห่งประเทศไทย. (2555). ภาพรวมตลาดแรงงานไทย. สืบค้น 12 มิถุนายน 2561, จาก. https://www.bot.or.th/Thai/MonetaryPolicy/ArticleAndResearch/DiscussionPaper/DP012013.pdf

บวร เทศารินทร์. (2560). ประเทศไทย 4.0 โมเดลเศรษฐกิจใหม่. สืบค้น 21 กรกฎาคม 2560, จาก http://www.drborworn.com/articledetail.asp?id=16233

ปกรณ์ ปรียากร. (2442). การวางแผนกลยุทธ์: แนวคิดและแนวทางประยุกต์. กรุงเทพฯ: เสมาธรรม.

ผุสดี วัฒนสาคร. (2557). ยุทธศาสตร์การพัฒนาอุตสาหกรรมภาพยนตร์ไทยสู่การเสริมสร้างเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์. (วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต, สาขาวิชาพัฒนศึกษา, คณะศึกษาศาสตร์). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศิลปากร.

มติคณะรัฐมนตรี. (2556). ยุทธศาสตรก์ารพัฒนากำลังแรงงานในอุตสาหกรรมยานยนต์และชิ้นส่วนอะไหล่ยานยนต์. สืบค้น 7 มิถุนายน 2561, จาก https://www.ryt9.com/s/cabt/1727812

รังสรรค์ เลิศในสัตย์. (2549). การตลาดเชิงกลยุทธ์เพื่อความสำเร็จสำหรับผู้บริหาร SME s. กรุงเทพฯ: สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี(ไทย-ญี่ปุ่น).

วัฒนา วงศ์เกียรติรัตน์ และคนอื่นๆ. (2548). การวางแผนกลยุทธ์: ศิลปะการกำหนดแผนองค์การสู่ความ เป็นเลิศ. กรุงเทพฯ: สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ.

ศักดิพันธ์ ตันวิมลรัตน์. (2553). ข้อเสนอแนวทางแผนกลยุทธ์มหาวิทยาลัยศิลปากรในช่วงแผนพัฒนา การศึกษาแห่งชาติ ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555-2559). (วิทยานิพนธ์ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต, สาขาวิชาการบริหารการศึกษา, ภาควิชาการบริหารการศึกษาบัณฑิตวิทยาลัย). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศิลปากร.

ศรีสุดา วงศ์วิเศษกุล. (2554). การพัฒนายุทธศาสตร์องค์กรสมรรถนะสูงของสถาบันการศึกษาพยาบาล สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา. (วิทยานิพนธ์ครุศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต, สาขาวิชาอุดมศึกษา, คณะครุศาสตร์). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สถาบันยานยนต์, กระทรวงอุตสาหกรรม. (2558). สรุปสถานการณ์อุตสาหกรรมชิ้นส่วนยานยนต์ของ SMEs ไทย. สืบค้น 17 มิถุนายน 2561, จาก http://www.sme.go.th/th/images/data/SR/download/2015/บทความ/สรปุสถานการณอ์ตุสาหกรรมชนิ้สว่นยานยนตข์อง%20SMEs%20ไทย.pdf.

สถาบันยานยนต์. (2560). แรงงานในอุตสาหกรรมยานยนต์. สืบค้น 17 มิถุนายน 2561, จาก http://www.thaiauto.or.th/2012/th/news/news-detail.asp?news_id=65

สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา. (2560). รายชื่อสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา (สอศ.). สืบค้น 17 มิถุนายน 2561, จาก https://www.studentloan.or.th/public/upload/d003.pdf

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.). (2557). แหล่งสารนิเทศบนอินเทอรเน็ต. วารสารส่งเสริมการลงทุน. สืบค้น 17 มถินุายน 2561, จาก http://www.boi.go.th/upload/content/BOI_November57_30162.pdf.

อาภรณ์ ภู่วิทยพันธุ์. (2553). ระบบการบริหารผลงาน. กรงุเทพฯ: เอช อาร์ เซ็นเตอร์ สืบค้น 17 มถินุายน 2561. จาก file:///C:/Users/USER/Downloads/16393-Article%20Text-35458-1-10-20140222%20(1).pdf.

Certo, S.C. and Peter, J.P. (1991). Strategic Management: Concepts and Applications. Singapore: McGraw–Hill.

Hampton, D.R. (1986). Management. (3rd ed). New York: Mc Grawhill.

Hitt, A. M., Ireland, D.R, and Hoskisson, E.R. (2007). Strategic Management. United States of America: Thomson.

Johnson, Gerry. and Scholes, Kevan. (2010). Mapping and remapping organizational culture: A local government example. In Johnson, G. and Scholes, K. (Eds.), Exploring Public Sector Strategy (pp. 300-316). UK: Pearson Education.

Rue, L.W., and Byars, L.L. (1995). Management: Skill and Application (7th ed). Chicago: Irwin.

Professor, Humphrey, Albert. (1960-1970). SWOT Analysis Management Framework. Stanford Research Institute: Stanford University.

Yamane, Taro. (1973, p.275). Statistics: An Introductory Analysis. New York: Harper and Row Publication.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2020-06-15