การใช้การยศาสตร์ในการปฏิบัติงานของพนักงานในอุตสาหกรรมผลิตเครื่องใช้ไฟฟ้าในภาคตะวันออก

ผู้แต่ง

  • ตวงพร นุตบุญเลิศ สาขาการจัดการทรัพยากรมนุษย์ คณะการจัดการและการท่องเที่ยว มหาวิทยาลัยบูรพา
  • พรรัตน์ แสดงหาญ สาขาการจัดการทรัพยากรมนุษย์ คณะการจัดการและการท่องเที่ยว มหาวิทยาลัยบูรพา
  • อภิญญา อิงอาจ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยศิลปากร

คำสำคัญ:

การยศาสตร์, การยศาสตร์ด้านกายภาพ, การยศาสตร์ด้านการรับรู้, การยศาสตร์ด้านการจัดการองค์กร

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาโมเดลการใช้การยศาสตร์ในการปฏิบัติงาน ของพนักงาน ในอุตสาหกรรมผลิตเครื่องใช้ไฟฟ้าในภาคตะวันออก และเพื่อทดสอบโมเดลการใช้การยศาสตร์ในการ ปฏิบัติงานของพนักงานในอุตสาหกรรมผลิตเครื่องใช้ไฟฟ้าในภาคตะวันออก โดยวิธีการวิจัยแบบผสมด้วย การวิจัยแบบเชิงสำรวจเป็นลำดับ เริ่มต้นจากวิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ ด้วยการสัมภาษณ์จากการเลือกตัวอย่าง แบบจงใจ แล้วนำผลที่ได้มาสร้างโมเดลการใช้การยศาสตร์ในการปฏิบัติงานของพนักงานในอุตสาหกรรม ผลิตเครื่องใช้ไฟฟ้าในภาคตะวันออก จากนั้นจึงใช้วิธีการวิจัยเชิงปริมาณสำรวจความคิดเห็นที่มีต่อโมเดล ดังกล่าวจากพนักงานในอุตสาหกรรมผลิตเครื่องใช้ไฟฟ้าในภาคตะวันออก ผลการวิจัยพบว่า โมเดลการใช้ การยศาสตร์ในการปฏิบัติงานของพนักงานในอุตสาหกรรมผลิตเครื่องใช้ไฟฟ้าในภาคตะวันออก สามารถ จำแนกได้เป็น 3 ด้าน ได้แก่ การยศาสตร์ด้านกายภาพ การยศาสตร์ด้านการรับรู้ และการยศาสตร์ด้านการ จัดการองค์กร ส่วนการทดสอบความสอดคล้องของโมเดลการใช้การยศาสตร์ในการปฏิบัติงานของพนักงาน ในอุตสาหกรรมผลิตเครื่องใช้ไฟฟ้าในภาคตะวันออก กับข้อมูลเชิงประจักษ์พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามเห็น ด้วยกับโมเดลการใช้การยศาสตร์ในการปฏิบัติงานของพนักงานในอุตสาหกรรมผลิตเครื่องใช้ไฟฟ้าใน ภาคตะวันออก ในระดับค่อนข้างมาก นอกจากนี้ ยังพบว่า การใช้การยศาสตร์ในองค์กรด้านกายภาพ ด้านการรับรู้ และด้านการจัดการองค์กร มีความสัมพันธ์กันเชิงบวกอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ

References

กิตติ อินทรานนท์. (2548). การยศาสตร์ = Ergonomics. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

จำเนียร จวงตระกูล. (2553). การวิจัยเชิงคุณภาพ: เครื่องมือสร้างองค์ความรู้เพื่อการพัฒนาประเทศ. กรุงเทพฯ: ศูนย์กฎหมายธุรกิจอินเตอร์เนชั่นแนล.

เฉลิมวุฒิ ศรีอ่อนหล้า และจาชญาอร นิพพานนทน์. (2553). ผลของโปรแกรมสุขศึกษาในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการทำงานให้ถูกต้องตามหลักการยศาสตร์: กรณีศึกษาในบุคลากร สายสนับสนุนสำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. วารสารเทคนิคการแพทย์และกายภาพบำบัด, 22(2),167-178.

ณัฐรียา เบ้าทอง. (2551). การลดอาการปวดหลังส่วนล่างของพนักงานแผนกขึ้นรูปแบบทรายโดยใช้หลักการยศาสตร์: กรณีศึกษาโรงงานผลิตชิ้นส่วนยานยนต์. (วิทยานิพนธ์ วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาวิศวกรรมความปลอดภัย, คณะวิศวกรรมศาสตร์). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

ดลพร กุลศานต์. (2550). การศึกษาปัญหาการยศาสตร์ของพนักงานที่ปฏิบัติงานภายในห้องสะอาดสำหรับโรงงานอิเล็กทรอนิกส์. (วิทยานิพนธ์วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาวิศวกรรม ความปลอดภัย, คณะวิศวกรรมศาสตร์). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

ธยา ภิรมย์ และพันธ์ยศ วรเชฐวราวัตร์. (2555). การศึกษาความเมื่อยล้าจากการนั่งทำงานของพนักงานเย็บในอุตสาหกรรมเครื่องนุ่งห่ม. (วิทยานิพนธ์สถาบันวิจัยและพัฒนา,สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ, คณะวิศวกรรมศาสตร์).สงขลา: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย.

นิรัชชา เผด็จตะคุ. (2549). การวิเคราะห์ปัญหาการยศาสตร์ในโรงงานอิเลคโทรนิค. (วิทยานิพนธ์วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาวิศวกรรมความปลอดภัย, คณะวิศวกรรมศาสตร์). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

พรรัตน์ แสดงหาญ. (2557). การบริหารผลงาน Performance Management. ใน เอกสารประกอบการสอนวิชาการบริหารผลงาน (Performance Management) (หน้า 1-182). ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา.

รัตนาภรณ์ อมรรัตนไพจิตร และสุดธิดา กรุงไกรวงศ์. (2544). การยศาสตร์ในสถานที่ทำงาน. กรุงเทพฯ: เรียงสาม กราฟฟิค ดีไซน์.

ไวยวิทย์ ไวยกาญจน์, นันทกฤษณ์ ยอดพิจิตรและสรรพสิทธิ์ ลิ่มนรรัตน์. (2555). การประเมินทางการยศาสตร์สำหรับงานยกในโรงงานผลิตชิ้นส่วนรถยนต์. ใน การประชุมวิชาการข่ายงานวิศวกรรมอุตสาหการ ประจำปี พ.ศ. 2555 (หน้า 492-502). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีปทุม.

สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ. (2550). การยศาสตร์. สืบค้นเมื่อ 28 กรกฎาคม 2558, จาก http://kanchanapisek.or.th/kp6/sub/book/book.php?book=32&chap=7&page=t32-7-infodetail03.html

องอาจ นัยพัฒน์. (2548). วิธีวิทยาการวิจัยเชิงปริมาณและคุณภาพทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

อภิญญา อิงอาจ. (2556). การวิเคราะห์สถิติเพื่อการวิจัย เล่ม 1: ความรู้เบื้องต้น-การทดสอบเชิงเปรียบเทียบ ค่าเฉลี่ย. ใน เอกสารประกอบการสอนวิชา การวิเคราะห์เชิงสถิติ (หน้า 1-105). เพชรบุรี: มหาวิทยาลัยศิลปากร.

เอกรินทร์ วิทูโรจน์อำไพ. (2558). คุณรู้หรือไม่ว่า… การประเมินความเสี่ยงด้านการยศาสตร์ (Ergonomic) ในสถานประกอบการจะได้รับประโยชน์อย่างไรบ้าง. สืบค้นเมื่อ 30 กรกฎาคม 2558, จาก http://www.bureauveritas.co.th/home/news/did-you-know-hat/ergonomics2?presentationtemplate=bv_master_v2/news_full_story_presentation_did_you_know_v2

Abarqhouei, N. S., & Nasab, H. H. (2011). Total ergonomics and its impact in musculoskeletal disorders and quality of work life and productivity. Open Journal of Safety Science and Technology, 1(3), 79-88.

Bendig, A. W. (1954). Reliability of short rating scales and the heterogeneity of the rated stimuli. Journal of Applied Psychology, 38, 167-170.

Bollen, K. A. (1989). Structural equation with latent variables. New York: John Wiley & Sons.

Creswell, J. W. (1998). Qualitative inquiry and research design: Choosing among five traditions. London: SAGE.

Creswell, J. W., & Clark, V. L. P. (2011). Designing and conducting mixed methods research. Los Angeles: SAGE.

Cronbach, L. J. (1950). Further Evidence on Response Sets and Test Design. Educational and Psychological Measurement, 10, 3–31.

Imtiaz, A. K. (2012). Human Machine Interaction-Getting Closer. Croatia: InTech.

International Ergonomics Association. (2015). Definition and domains of ergonomics. Retrieved July 27, 2014, from http://www.saylor.org/site/wp-content/uploads/2011/07/psych304-8.3.5.pdf

International Labour Organization. (2012). Your health and safety at work ergonomics. Retrieved July 27, 2014, from http://www.indevagroup.com/wp-content/uploads/2014/02/Basic_Ergonomics_Principles.pdf

Jaffar, N., Abdul-Tharim, A. H., Mohd-Kamar, I. F., & Lop, N. S. (2011). A literature review of ergonomics risk factors in construction industry. Procedia Engineering, 20, 89-97.

Macleod., D. (2008). 10 Principles of ergonomics. Retrieved July 21, 2014, from http://www.danmacleod.com/ErgoForYou/10_principles_of_ergonomics.htm

Manolescu, A., Verboncu, I., Lefter, V., & Marinas C. (2010). Linking ergonomics with the human resources management. Review of International Comparative Management, 11(2), 201-209.

Mark, L. S., Warm, J. S., & Huston, R. L. (1987). Ergonomics and human factors: Recent research. New York: Springer-Verlag.

Middlesworth., M. (2014). 5 Proven Benefits of Ergonomics in the Workplace. Retrieved July 27, 2014, from http://ergo-plus.com/workplace-ergonomics-benefits/

Sanders, M. S., & McCormick, E. J. (1987). Human factors in engineering and design. New York: McGraw-Hill.

Saylor Academy. (2011). Ergonomics. Retrieved July 27, 2014, from http://www.saylor.org/site/wp-content/uploads/2011/07/psych304-8.3.5.pdf

Scott, P., Kogi, K., & McPhee, B. (2009). Ergonomics guidelines for occupational health practice in industrially developing countries. Geneva: International Ergonomics Association.

Soundararajan, L. J., & Kumar, A. A. (2015). Competency mapping analysis: A study conducted in specific package industry at Puducherry State of India. European Journal of Business and Management, 7(19), 147-157.

Te-Hsin, P. & Kleiner, B. H. (2001). New developments concerning the occupational safety and health act. Journal of Managerial Law. 43(1/2), 138-146.

University of Utah. (2009). Basic principles of ergonomics. Retrieved July 21, 2014, from https://ehs.utah.edu/sites/default/files/BasicPrinciplesErgonomics2009.pdf

Wegge, R. (2012). Principles of ergonomics. Retrieved July 21, 2014, from http://www.nd.gov/risk/files/seminars/01-Ergo-Presentation-final.pdf

Yamane, T. (1973). Statistic: An introductory analysis. (3rded.). New York: Harper and Row.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2020-06-17